Page 45 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          36


                         หอมแดง  เป็นพืชเศรษฐกิจส าคัญ ของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยส่งออก
                  หอมแดงไปยังประเทศมาเลเซียเป็นจ านวนมาก การซื้อขายส่วนใหญ่เป็นหัวๆ ชั่งขายเป็นกิโลกรัม และมัดขาย
                  เป็นก าๆ แต่ก็ขายตามน้ าหนัก เช่นเดียวกัน

                         ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
                         ไม้ล้มลุก สูง 20-30. เซนติเมตร มีหัวใต้ดิน เกิดจากใบเกร็ด เรียงซ้อนกันเป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่
                  กว้าง 1-3.5 เซนติเมตร ยาว 1.5-4 เซนติเมตร  มีหลายหัวเกาะกลุ่มด้วยกัน เปลือกหุ้มสีม่วงหรือสีน้ าตาล ใบ
                  เดี่ยว เกิดจากรากเรียงช้อนกัน รูปแถบ กว้าง 3-10  มิลลิเมตร ยาว 10-35 เซนติเมตร ดอกช่อซี่ร่ม รูปทรง

                  กลม เกิดจากหัวใต้ดิน ดอกรูประฆังหรือคนโท กลีบรวม 6 กลีบ เรียงเป็น 2 วง สีเขียวถึงขาว ผลแห้งแตกได้
                  เป็น 3 ภู เมล็ดแบนสีด า
                         สรรพคุณทางยา

                         หัว: ขับลมในล าไส้ แก้หวัด คัดจมูก แก้ไข้ แก้ไข้เพื่อเสมหะ แก้ไข้สันนิบาต แก้ไข้อันบังเกิดแก่จักษุ แก้
                  ไข้อันบังเกิดแก่ทรวง แก้โรคตา ขับเสมหะ แก้โรคในปาก บ ารุงเส้นผม แก้ลมพรรดึก เจริญไฟธาตุ แก้ก าเดา แก้
                  อาการเมาค้างจากเหล้า แก้สะอึก แก้ท้องเสีย เป็นยาถ่าย ท าให้อาเจียน ขับปัสสาวะ บ ารุงโลหิต
                         ใบ    : แก้ท้องผูก แก้ลม เจริญอาหาร แก้ก าเดา แก้หวัด แก้ฟกช้ า
                         เมล็ด : แก้กินเนื้อสัตว์เป็นพิษ แก้อาเจียนเป็นเลือด

                         วิธีใช้และการรักษา : น าหอมกินกับข้าว เพื่อขับลม
                         ข้อดีของสมุนไพร   : ใช้เป็นยารักษาโรค
                         ข้อเสียของสมุนไพร : กลิ่นฉุน

                         ถิ่นที่อยู่คนโบราณนิยมปลูกไว้ในสวนหลังบ้าน หรือปลูกในกระถาง ปลูกได้ดีในดินร่วน ปัจจุบันนี้บาง
                  บ้านยังปลูกไว้ใช้ประโยชน์บ้าง และที่ส าคัญ คือ ปลูกเพื่ออนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานได้รู้จัก
                         การใช้ประโยชน์ทางด้านอาหาร
                         คนไทยนิยมน าหอมแดง มาเป็นส่วนประกอบเครื่องแกงเผ็ด เป็นส่วนประกอบของไข่เจียวหมูสับ ซุป

                  หางวัว รับประทานสดโดยฝานเป็นแว่นบางๆรับประทานร่วมกับแหนมสด เมี่ยงค า ปลาเค็มทอดบีบมะนาว
                  หอมแดงซอย กับพริกขี้หนูสวนหั่นฝอย เป็นส่วนประกอบของน้ าพริกกะปิ หอมแดงเผาต าผสมกับน้ าพริกปลา
                  ร้า และเป็นส่วนประกอบของหลนทุกอย่าง เป็นส่วนประกอบของขนมหวาน เช่น หอมแดงซอยเจียวใส่ในข้าว
                  เหนียวหน้าปลาแห้ง ขนมหม้อแกงถั่ว และไข่ลูกเขย ( อาหารคาวหวาน ) ฯลฯ

                         คุณค่าทางอาหาร
                         คุณค่าทางอาหารของหอมแดง ในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม คือ มีน้ าเป็นส่วนประกอบ 88 กรัม
                  โปรตีน 1.5 กรัม ไขมัน 0.3 กรัม คาร์โบไฮเดรต 9 กรัม ใยอาหาร 0.7 กรัม เถ้า ( ash ) 0.6 กรัม แคลเซี่ยม 36
                  มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 40 มิลลิกรัม เหล็ก 0.8 มิลลิกรัม  วิตามินเอ 5 หน่วยสากล ( I.U.  )  วิตามินบี 10.03

                  มิลลิกรัม วิตามินซี 2 มิลลิกรัม พลังงาน 160  แคลลอรี คุณภาพของหอมแดงขึ้นอยู่กับของแข็ง (Solids)  ที่
                  ละลายน้ าได้ และให้กลิ่นหอม เมื่อน าไปทอด หอมแดงจะมี soluble  solid  อยู่ระหว่าง 15-20  Brix  เป็น
                  ส่วนประกอบของกรดอมิโน S-allkyl cysteine sulphoxides  ที่ให้ทั้งรสชาติ และกลิ่นฉุนของหอม

                         หอมแดงเป็นพืชสมุนไพรที่เป็นยารักษาโรค
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50