Page 41 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          32


                  ผลไม้ของเขตเมืองร้อน สามารถปลูกได้เกือบทุกประเทศที่มีภูมิอากาศร้อนชื้นหลายแห่ง ส าหรับประเทศไทย
                  สามารถปลูกกล้วยหอมได้ทั่วทุกภาค ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ส าหรับปลูกกล้วยหอมอยู่ประมาณ 140,000
                  ไร่ (ผลการส ารวจปี พ.ศ. 2529) โดยพบว่าภาคที่มีการปลูกกล้วยหอมมากที่สุดได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  ภาคใต้ แต่ภาคใต้ และภาคตะวันออก จะเน้นปลูกกล้วยหอมเพื่อการค้า
                         การปลูก
                         1. การเตรียมดิน ไถดะ 1 ครั้ง ตากดินแล้วไถพรวน 1-2 ครั้ง ให้ดินร่วนซุย ไม่มีวัชพืช ถ้ามีวัชพืช มาก
                  กว่าร้อยละ 20 ต้องไถพรวนใหม่

                         2. การเตรียมหลุมปลูก ระยะปลูกระหว่างแถวและ ต้น 2x2 เมตร ขนาดหลุมปลูก กว้าง ยาว  ลึก
                  30x30x30 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยดินผสมปุ๋ยอินทรีย์ด้วย 5 กิโลกรัมต่อหลุม
                         3. การเตรียมพันธุ์และการปลูกใช้หน่อพันธุ์ที่สมบูรณ์ ปราศจากศัตรูพืช มีความยาวหน่อ 25-35

                  เซนติเมตร มีใบแคบ 2-3 ใบวางหน่อพันธุ์ที่ก้นหลุม จัดวางให้ด้านที่ติดต้นแม่อยู่ในทิศทางเดียวกันเพื่อให้มีการ
                  ออกดอกไปในทิศทางเดียวกัน และสะดวกในการดูแลรักษากลบดินและกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น คลุมดิน
                  ด้วยฟางข้าวหรือหญ้าแห้งและรดน้ าให้ชุ่ม
                         การดูแลรักษา
                         1. การให้น้ าต้องให้น้ าอย่างสม่ าเสมอตลอดฤดูปลูก เมื่อหน้าดินแห้งต้องให้น้ า (โดยเก็บตัวอย่างดิน

                         จากผิวดินลึก 15 เซนติเมตร ก าเป็นก้อนถ้าแบมือแล้วแตกร่วงควรให้น้ าเพิ่มแก่ต้นกล้วย)
                         การให้ปุ๋ย
                         - ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 และ 2 เมื่อกล้วยหอมอายุ 1 เดือนและ 3 เดือน ด้วยสูตร 20-10-10 หรือ 15-15-15

                  หรือสูตรใกล้เคียงอัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง
                         - ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 3 และ 4 เมื่อกล้วยหอมอายุ 5 เดือนและ 7เดือน ด้วยสูตร 13-13-21 หรือสูตรใกล้เคียง
                  อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง
                         - ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก) ปีละ 1-2 ครั้ง

                         การแต่งหน่อ หลังจากปลูกกล้วยประมาณ 5 เดือน ให้แต่งหน่อ เพื่อให้ต้นแม่มีความสมบูรณ์
                         การค้ ายันต้น  ต้องใช้ไม้ค้ ายันหรือดามกล้วยทุกต้น ที่ออกปลีแล้ว เพื่อป้องกันล าต้นหักล้ม และตรวจดู
                  การค้ ายันให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง
                         การหุ้มเครือ และตัดใบธงการหุ้มเครือกระท าหลังจากตัดปลีไม่เกิน 15 วัน เพื่อให้ผิวกล้วยสวยและ

                  ป้องกันแมลงท าลายด้วยถุงพลาสติกสีฟ้า แบบเปิดด้านล่าง โดยหุ้มทั้งเครือและหุ้มทุกเครือ ส่วนการตัดใบธง
                  ตัดเมื่อใบธงเริ่มหักก่อนที่จะเสียดสีกับผิวกล้วย
                         ระยะเวลาในการให้ผลผลิตของกล้วยหอมทอง ประมาณ 10 เดือนหลังจากปลูก กล้วยจะเริ่มแทงปลี
                  ออกมา การที่กล้วยจะออกปลีช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของหน่อกล้วยว่ามีความ แข็งแรงสมบูรณ์ดี

                  หรือไม่ รวมทั้งการดูแลรักษาเมื่อกล้วยแทงปลีจนสุก (กล้วยหวีตีนเต่าโผล่–กล้วยตีนเต่าหมายถึงกล้วยหวี
                  สุดท้ายที่มีลักษณะไม่สมบูรณ์) ให้ตัดปลีทิ้ง หรือจะตัดปลีหลังจากปลีโผล่มาประมาณ 10-12 วัน ถ้าไม่มีการตัด
                  ปลีกล้วยทิ้ง ผลกล้วยจะเจริญเติบโตไม่เต็มที่ หลังจากตัดปลีประมาณ  90-110 วัน กล้วยจะแก่พอดี สามารถ

                  สังเกตได้จากกล้วย หวีสุดท้ายจะเริ่มกลม สีที่ผลจางลงกว่าเดิม (สีเขียวอ่อน) ถ้าปล่อยให้กล้วยแก่คาต้นมาก
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46