Page 50 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          41


                         ลักษณะอาการ ล าตัวขนาดยาว 1-1.2 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีน้ าตาลอ่อนถึงเขียว ตัวแก่สีเหลืองซีดถึง
                  น้ าตาลอ่อน ท าลายกระเทียมโดยดูดกินน้ าเลี้ยงที่ใบ ท าให้เป็นจุดสีขาวซีด บางครั้งเป็นจุดลึกลงไปท าให้ใบซีด
                  ขาว และเหี่ยวแห้ง

                         การเก็บเกี่ยว
                         ลักษณะการแก่จัดของกระเทียม สามารถสังเกตได้ดังนี้
                         -  มีตุ่มหรือหัวขนาดเล็กๆ เกิดขึ้นที่ล าต้นของกระเทียมตั้งแต่ 1 ตุ่มขึ้นไป
                         -  ส่วนของยอดเจริญขึ้นมาหมดแล้ว และก าลังมีต้นดอกชูขึ้นมา

                         -  ใบกระเทียม เริ่มแห้งตั้งแต่ปลายใบลงมามากกว่าร้อยละ 30
                         -  ใบ หรือต้นกระเทียม เอนหัก ล้มนอนไปกับพื้นดินร้อยละ 25  ขึ้นไป
                         - ดอก หรือโคนล าค้น บีบดูจะรู้สึกอ่อนนิ่มถ้าพบลักษณะดังกล่าว ให้เริ่มถอนกระเทียมได้ ซึ่งจะมีอายุ

                  การเก็บเกี่ยวประมาณ 100-120 วันหลังปลูก หรือเมื่อถึงระยะเวลาเก็บเกี่ยวใบจะแห้ง ถ้าเก็บเกี่ยวช้าเกินไป
                  จะท าให้กลีบร่วงได้ง่าย และได้กระเทียมที่มีคุณภาพไม่ดี
                         วิธีเก็บเกี่ยวคือถอนและตากแดดในแปลงประมาณ 2-3 ชั่วโมง โดยวางสลับกันให้ใบคลุมหัวเพื่อ
                  ป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด โดยตรง ตากไว้ 2-3 วัน ระวังอย่าให้ถูกฝนและน้ าค้างแรงในเวลากลางคืน น ามาผึ่งลม
                  ในที่ร่มสักระยะหนึ่ง ประมาณ 5-7 วัน ให้หัวและใบแห้งดี หลังจากนั้นน ามาคัดขนาดและมัดจุกตามต้องการ

                         การเก็บรักษากระเทียม
                         กระเทียม ที่มัดจุกไว้ น าไปแขวนไว้ในเรือนโรงเปิดฝาทั้ง 4 ด้าน หรือใต้ถุนบ้านที่มีการถ่านเทอากาศดี
                  ไม่ถูกฝน หรือน้ าค้าง รวมทั้งแสงแดด ประมาณ 3-4 สัปดาห์ จะท าให้กระเทียมแห้งสนิท คุณภาพดี จึงน าลงมา

                  กองสุ่มรวมกันเพื่อเก็บรักษาหรือขายต่อไป กระเทียมหลังจากเก็บ 5-6 เดือน จะสูญเสียน้ าหนักไปประมาณ
                  ร้อยละ 30 ถ้าหากเก็บข้ามปีจะมีส่วนสูญเสียร้อยละ 60-70
                         การเก็บพันธุ์กระเทียมไว้ใช้เอง
                         เลือกคัดเอาหัวที่มีลักษณะรูปทรงของพันธุ์ดี สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลงท าลาย และแก่เต็มที่แล้ว

                  โดยทั่วไปนิยมคัด หัวที่มีขนาดกลาง มีกลีบประมาณ 3-6 กลีบ น ามาผึ่งในที่ร่มจนแห้งดี ท าการมัดรวมกันแล้ว
                  แขวนไว้ในที่ร่มมีลมพัดผ่าน การถ่ายเท อากาศดี ไม่ควรแกะกระเทียมเป็นกลีบ ๆ ขณะเก็บรักษาเพราะจะท า
                  ให้ผลผลิตลดลง เมื่อแกะแล้วควรจะน าไปใช้ปลูกทันที
                         กระเทียมจะมีระยะพักตัวประมาณ 5-6 เดือน ถ้าสภาพอากาศเหมาะสม กระเทียมจะงอก ได้ตั้งแต่

                  เดือนกันยายนเป็นต้นไป กระเทียมที่เก็บรักษาไว้ จะต้องน าปลูกก่อนเดือนกุมภาพันธุ์ถ้าหากไม่น าลงปลูกจะฝ่อ
                  เสียหายหรืองอกทั้งหมด(ที่มาhttp://www.vegetweb.com/การปลูกกระเทียมวันที่ 10 กรกฏาคม 2558)
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55