Page 49 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          40


                         กระเทียมมีโรค-แมลงรบกวนมากทั้งในระยะที่ก าลังเจริญเติบโต ( จะท าให้ผลผลิตลดลงต่ ามาก) และ
                  หลังการเก็บเกี่ยว ดังนี้
                         โรคที่ส าคัญของกระเทียม ได้แก่

                         1. โรคใบเน่า มีเชื้อราเป็นสาเหตุ
                         ลักษณะอาการ เริ่มแรกจะมีแผลเกิดขึ้นบนใบกระเทียม ลักษณะเป็นจุดสีเขียวหม่นและขยายออกไป
                  เป็นแผลรูปยาวรี มองเห็นเป็นรอยบุ๋มเล็กน้อย ใบหนึ่ง ๆ อาจมีหลายแผลติดกัน จนใบแห้งและหักพับลงมา ท า
                  ให้ใบพืชไม่สามารถปรุงอาหารตามปกติได้ ถ้าเป็นในระยะที่ลงหัว หรือหัวแก่จัด และเกษตรกรเก็บรักษาหัวนั้น

                  ไว้ เชื้อโรคนี้อาจจะไปแพร่ระบาดในโรงเก็บได้
                         การป้องกันก าจัด
                         -  เก็บส่วนใบที่เป็นแผลทิ้งหรือเผาไฟ

                         -  พ่นสารเคมี เช่น ไดโฟล่แทน หรือไดเทน-เอ็ม-45 ทุก 7 วัน ถ้าเป็นมากควรพ่นให้ถี่ขึ้นเป็น 3-5
                             วันหรือเพิ่มความเข้มข้นของยาเป็น 2 เท่า
                         2. โรคใบจุดสีม่วงมีเชื้อราเป็นสาเหตุ
                             ลักษณะอาการ เกิดกับใบกระเทียม เริ่มแรกจะมีแผลหรือจุดสีขาวก่อน และจะขยายใหญ่เป็นแผล
                  รูปยาวรี สีน้ าตาลอ่อนหรือม่วง ขอบแผลสีน้ าตาลเข้มหรือเหลือง แผลมีทั้งขนาดใหญ่และเล็ก ในแต่ละใบอาจมี

                  มากกว่า 1 แผล ท าความเสียหายแก่กระเทียมเช่นเดียวกับโรคใบเน่า และสามารถท าลายได้ทุกระยะการ
                  เจริญเติบโต มีการเก็บเกี่ยวก่อนก าหนด หัวกระเทียมที่ได้ไม่แก่จัด ไม่เหมาะที่จะใช้ท าพันธุ์ และท าให้ผลผลิต
                  ต่อไร่ลดลง

                         การป้องกันก าจัดคล้ายๆ กับโรคใบเน่าและเฉพาะโรคชนิดนี้งดใช้ยากันราประเภทดูดซึมพวกเบนเลท
                  นอกจากนี้ก็มีโรคราน้ าค้าง ราด า หัวและรากเน่าคอดินและเน่าเละ เป็นต้น
                         แมลงที่ส าคัญ
                         1. ไรขาวหรือไรหอมกระเทียม

                         ลักษณะอาการ เป็นแมลงตัวเล็ก ๆ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดูดกินน้ าเลี้ยงตามใบพืช ทั้งอ่อนและแก่
                  สามารถเจริญเติบโตและแพร่ขยายอย่างรวดเร็วในสภาพอากาศที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ในช่วงเดือนมกราคม-
                  กุมภาพันธ์ ท าให้ใบและยอดอ่อนของกระเทียม มีอาการ หงิก งอ ม้วนตัวแน่น ไม่คลี่ยาวเหยียดไป และจะ
                  ระบาดรวดเร็วมากในไม่ช้า ใบก็จะเริ่มมีลายสีเขียวอ่อนและขาว จนในที่สุดเป็นสีเหลืองฟางข้าว และใบแห้ง

                  เหี่ยวคล้ายใบไหม้
                         การป้องกันก าจัด
                         - หมั่นตรวจดูแปลงกระเทียม ถ้าพบว่ากระเทียมแสดงอาการดังกล่าวให้รีบถอนทิ้ง
                         - ฉีดพ่นยาฆ่าแมลงพวกพอสซ์ หรือโตกุไธออนทุก 3 วันต่อครั้ง ประมาณ 4-5 ครั้ง จนแน่ใจว่าหยุด

                         ลุกลาม จึงฉีดยาให้มีระยะห่างได้
                         2. เพลี้ยไฟหอม
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54