Page 34 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          25


                  เฮกตาร์  แต่การไถกลบตอซังและฟางข้าวจะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 4.1 ตันต่อเฮกตาร์การใส่ฟางข้าวจะช่วย
                  เพิ่มปริมาณโพแทสเซียมในดินได้สูงกว่าปุ๋ยหมักและช่วยเพิ่มผลผลิตของข้าวพันธุ์กข.7 มากขึ้น เมื่อเทียบกับ
                  การไม่ใส่ปุ๋ยเคมี โดยเมื่อใส่ฟางข้าวจะได้ผลผลิตเฉลี่ย 505 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีจะได้ผลผลิต

                  ข้าวเพียง 475 กิโลกรัมต่อไร่  ในข้าวขาวดอกมะลิพบว่าผลผลิตของข้าวเมื่อไม่ใส่ปุ๋ยเคมีจะเท่ากับ 442
                  กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อใส่ฟางข้าวจะให้ผลผลิตเฉลี่ย 472 กิโลกรัมต่อไร่
                         การไถกลบฟางข้าวในอัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปักด า 7 วัน ร่วมกับปุ๋ยเคมี อัตรา 4–1.1–1.1
                  กิโลกรัม (N-P O -K O) ต่อไร่ ในช่วงก่อนปักด า 1 วัน มีผลต่อการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก 211 เป็น 235
                              2 5 2
                  กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อเทียบกับการไม่ได้ไถกลบฟางข้าว (สุดชลและคณะ,2536)
                         ผลของการไถกลบตอซังข้าวเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ
                  โดยท าการทดลองปลูกข้าวกข.23 หลังจากไถกลบตอซังและฟางข้าวในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ 1,000

                  กิโลกรัมต่อไร่ 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ และ 2,500 กิโลกรัมต่อไร่  เปรียบเทียบกับแปลงนา
                  ที่มีการเผาตอซังและฟางข้าวในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่แล้วไถกลบ  โดยท าการศึกษาในดินชุดเรณูและดินชุด
                  ร้อยเอ็ด  (มิถุนายน–ธันวาคม 2532)  ผลการศึกษาพบว่า  การไถกลบตอซังและฟางข้าวในอัตราตั้งแต่ 1,000
                  กิโลกรัมต่อไร่ ขึ้นไปจะท าให้ผลผลิตของข้าวโดยเฉลี่ยสูงขึ้นและมีแนวโน้มท าให้  pH  ของดินและปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินมีปริมาณเพิ่มขึ้น (ปรัชญาและคณะ,2534)

                         สมฤทัย (2545) รายงานว่าจากการศึกษาอิทธิพลของการใส่ฟางข้าวร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเปลี่ยนแปลง
                  ทางเคมีของดินในสภาพขังน้ า จากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพบว่าการใส่ฟางข้าวในดินนาเนื้อปูนชุดดิน
                  ลพบุรีในสภาพน้ าขังจะมีผลท าให้ pH ของดิน ปริมาณแอมโมเนียม ไนโตรเจนในดินลดลง ส่วนค่าการน าไฟฟ้า

                  สภาพรีดักชัน ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์จะเพิ่มขึ้น เมื่อมีการใส่ฟางข้าวร่วมกับปุ๋ยเคมีพบว่า  pH
                  ของดินจะต่ ากว่าที่ใส่ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียว ค่าการน าไฟฟ้าสภาพรีดักชันและปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                  ประโยชน์ในดินที่ใส่ฟางข้าวร่วมกับปุ๋ยเคมีจะสูงกว่าที่ใส่ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียว
                         สุมน (2550)  ได้มีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงผลผลิต เมื่อไถกลบตอซังร่วมกับน้ าหมักชีวภาพ ในนา

                  ข้าว ชุดดินมูโน๊ะ ระหว่างปี 2549-2550 พบว่า การไถกลบตอซังร่วมกับน้ าหมักชีวภาพ และ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์  25
                  กิโลกรัมต่อไร่ ผสมภูไมท์ซัลเฟต 20 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปุ๋ยเคมีตามผลวิเคราะห์ดินและใส่ปูนตามค่าความ
                  ต้องการปูน ให้ผลผลิตต่อไร่สูงสุด 609 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาวิธีการ ไถกลบตอซังร่วมกับน้ าหมักชีวภาพใช้
                  ปุ๋ยเคมีตามผลวิเคราะห์ดินและใส่ปูนตามค่าความต้องการปูน

                         ตระกูลและคณะ (2549)  ผลการวิจัยพบว่าไถกลบตอซังอัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับน้ าหมักชีวภาพ และ
                  ปุ๋ยเคมี 16–16–8 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันกับ ต ารับที่ใช้ ปุ๋ยเคมี 16–16–8 อัตรา 40
                  กิโลกรัมต่อไร่  ส าหรับการเปลี่ยนคุณสมบัติของดินพบว่า ในต ารับที่มีการไถกลบตอซังร่วมกับ พด.1 น้ าหมัก
                  ชีวภาพ จากน้ านมดิบคุณภาพต่ าและปุ๋ยเคมีท าให้คุณสมบัติของดินมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างชัดเจน เมื่อ

                  เปรียบเทียบกับดินก่อนการทดลอง
                         ศึกษาผลของการจัดการตอซังข้าวคืนสู่ดินร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต
                  ของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในสภาพนาหว่าน ผลของการทดลองพบว่า การไถกลบตอซังลงสู่ดินให้ผลผลิตข้าว

                  ไม่แตกต่างทางสถิติกับการเผาตอซัง แต่มีแนวโน้มว่าการไถกลบตอซังให้ผลผลิตข้าวสูงกว่าการเผาตอซังร้อยละ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39