Page 29 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          20


                         แนวทางแก้ไขปัญหาดินทราย  ดินทรายเป็นดินที่มีปัญหามากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมีผลให้
                  เกษตรกรมีฐานะยากจนกว่าเกษตรกรในภาคอื่นๆ จึงเป็นการยากที่เกษตรกรจะยอมรับเทคโนโลยีที่ต้องใช้
                  ต้นทุนสูง วิธีการปรับปรุงดินที่เหมาะสมส าหรับเกษตรกรอาจท าได้ ดังนี้

                         1. การจัดระบบการปลูกพืชเพื่อไถกลบลงไปในดิน เป็นวิธีที่มีการลงทุนต่ า เช่น การปลูกพืชตระกูลถั่ว
                  คลุมดินร่วมกับการปลูกไม้โตเร็วแล้ว จึงไถกลบพืชตระกูลถั่วเป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                  วิธีการนี้จะช่วยเพิ่มพื้นที่ป่า ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ดินอีกด้วยซึ่งนับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่ง
                         2. การจัดการดินและการใส่อินทรียวัตถุ  เนื่องจากอินทรียวัตถุหรือปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก

                  เป็นต้น เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับดินทรายโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความลาดชัน เนื่องจากสามารถลดการสูญเสียจาก
                  การชะล้างและการกร่อนดินและยังช่วยให้พืชที่ปลูกมีการเจริญเติบโตและการดูดธาตุอาหารได้ดีขึ้น  (สมพร,
                  2554)

                         ทรัพยากรน้ า
                         แหล่งน้ าตามธรรมชาติได้แก่ ห้วยค า ห้วยน้ าเตา หนองมัง ห้วยแดง ห้วยไฮ หนองผือและห้วยผับ
                  แหล่งน้ าที่มนุษย์สร้างขึ้นได้แก่ อ่างเก็บหนองห่องแดง บ่อน้ าตื้นและบ่อบาดาลซึ่งใช้ประโยชน์ทางด้านการ
                  อุปโภคและบริโภคเป็นหลัก
                         ทรัพยากรป่าไม้

                         ต าบลโนนกลางอยู่นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ
                         ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน  ด าเนินการ ณ  หมู่ที่ 3  บ้านทุ่งสว่าง  ต าบลโนนกลาง
                  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี  นายส าลี   บัวเงิน  หมอดินอาสาประจ าอ าเภอส าโรง เป็นเจ้าของศูนย์

                  ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในเรื่องของการใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน
                  เพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน ที่มีสภาพเป็นกรดจนสามารถท าการเกษตรในพื้นที่แปลงของตนเองได้ผลผลิตดีและสร้าง
                  รายได้ที่มั่นคงให้แก่ตนเอง  โดยมีผลผลิตหลัก คือ  ข้าวอินทรีย์ และการผลิตผักปลอดสารพิษ  นอกจากนี้ยังมี
                  ความสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ทางด้านการเกษตรที่มีแก่ผู้สนใจทั่วไปได้

                         ด าเนินการระหว่างเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2555 - ธันวาคม พ.ศ. 2557 สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ
                  พบว่าค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ในเกณฑ์เป็นกรดปานกลาง  ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ต่ ามาก ปริมาณ
                  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ ามาก ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ ามาก ข้อจ ากัด
                  ในการใช้ประโยชน์มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความสามารถในการอุ้มน้ าต่ าและดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม

                  ธรรมชาติต่ า ครอบคลุมพื้นที่  29  ไร่  ซึ่งใช้เป็นพื้นที่ท าการเกษตร คือ
                         1. ใช้ท านา จ านวน 25 ไร่ เพื่อผลิตข้าวไว้ส าหรับบริโภคและขายผลผลิตเพื่อเป็นรายได้
                         2. ใช้ท าสวนปลูกผักปลอดสารพิษ จ านวน 2 ไร่ ได้แก่ หอม  กระเทียม ผักสลัด
                         3. บ่อเลี้ยงปลาและเก็บกักน้ าเพื่อใช้ในการเกษตร  จ านวน 1 ไร่ ขอบบ่อปลูกกล้วยหอมทอง

                         4. ศาลาเรียนรู้ฯและโรงเรือนเก็บวัสดุอุปกรณ์   จ านวน 1 ไร่
                         ปัจจุบันยังคงด าเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชอบช่วยเหลือสังคม เป็นที่รักและเคารพของ
                  คนในชุมชน  และเป็นหมอดินอาสาที่เข้มแข็งต่องานพัฒนาที่ดิน  ท าให้เกษตรกรที่เข้ามาขอรับความรู้ตลอดจน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34