Page 39 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                               เกษตรกรท านาอย่างต่อเนื่อง ไม่มีการพักดินท าให้แมลงศัตรูพืช ไม่ถูกตัดวงจรชีวิต ท าให้มี
                       โรคแมลงศัตรูพืชท าลายข้าวได้รับความเสียหาย การก าจัดโรคแมลงศัตรูพืชใช้สารเคมีก าจัดท าให้
                       แมลงที่เป็นประโยชน์ถูกท าลายไปด้วย


                       ตารางที่ 2 ธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ของปุ๋ยพืชสด
                                    ชนิดต่างๆ ที่ได้จากการไถกลบ

                          ชนิดของพืชสด                              เปอร์เซ็นต์


                                                ไนโตรเจน             ฟอสฟอรัส           โพแทสเซียม
                             ปอเทือง              2.76                 0.22                2.40

                            โสนจีนแดง             2.85                 0.43                2.10

                            โสนอินเดีย            2.85                 0.46                2.83

                            โสนคางคก              1.84                 0.28                1.26

                              ถั่วพุ่ม            2.68                 0.39                2.56
                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2551)


                       ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน
                               สถานีพัฒนาที่ดินพระนครศรีอยุธยาได้คัดเลือกพื้นที่ นายสมเวียง สุขสมพืช หมอดินอาสา
                       ประจ าต าบล ณ  บ้านเลขที่ 28 หมู่ 8 ต าบลบ้านกลึง อ าเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                       พิกัดแปลง N  1580760  E  0663071 จัดตั้งเป็น จุดเรียนรู้การพัฒนาที่ดินประจ าต าบลบ้านกลึง

                       ด าเนินงานกิจกรรมจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน ในปี พ.ศ. 2548 และยกระดับเป็น ศูนย์เรียนรู้การ
                       พัฒนาที่ดิน ในปี พ.ศ.2552  ชุดดินเสนา กลุ่มชุดดินที่ 11  มีปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                       ได้แก่ ดินเป็นกรดจัด ขาดแร่ธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส และมีสารละลายพวก
                       อะลูมินัมและเหล็กมากเกินไปจนเป็นพิษต่อพืช จึงจัดเป็นดินเปรี้ยวจัด ปัจจุบันเกษตรกรใช้พื้นที่ใน

                       การท านา ซึ่งมีปัญหาในเรื่องของผลผลิต ดังนั้น สถานีพัฒนาที่ดินพระนครศรีอยุธยา จึงได้มีการเก็บ
                       ตัวอย่างดินมาวิเคราะห์และส่งเสริมการปรับปรุงดินด้วยการใช้ปูนมาร์ล โดโลไมท์ อบรมให้ความรู้
                       หมอดินอาสาเจ้าของศูนย์ฯ ซึ่งเป็นหมอดินอาสาประจ าต าบล โดยการผลิตน้ าหมักชีวภาพ พด.2

                       พด.7 ปลูกแฝกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ท าปุ๋ยหมักจากสารเร่ง พด.1 และการไม่เผา
                       เศษตอซังฟางข้าวการใช้ปุ๋ยพืชสดในการปรับปรุงบ ารุงดิน
                              กิจกรรมที่ด าเนินการได้แก่ จุดเรียนรู้การไถกลบตอซัง จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักชีวภาพ
                       จุดเรียนรู้การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด จุดเรียนรู้การอนุรักษ์ดินและน้ าด้วยหญ้าแฝก และจุด
                       เรียนรู้การปรับปรุงดินเปรี้ยวเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44