Page 34 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       22







                                    ทรัพยากรที่ดินและสภาพการใช้ที่ดิน จากการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า
                       กลุ่มชุดดินในต าบลบ้านกลึง คือกลุ่มชุดดินที่ 2f เนื้อที่ 7,735.18 ไร่ กลุ่มชุดดินที่ 11f เนื้อที่
                       56.26 ไร่
                                  ลักษณะทั่วไป  พื้นที่ส่วนใหญ่ของต าบลบ้านกลึง กลุ่มดินเหนียวลึกมาก ปฏิกิริยาดิน
                       เป็นกรดจัดมาก อาจพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวของสารประกอบก ามะถันลึกกว่า 100 เซนติเมตร

                       จากผิวดิน การระบายน้ าเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง มีการระบายน้ าเลว ฤดูฝนจะมีน้ าขังลึก
                       20-50 เซนติเมตร นาน 4-5 เดือน ฤดูแล้งดินแห้งแตกระแหงเป็นร่องกว้างลึก


                       3.2 การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                            ต าบลบ้านกลึง พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการเกษตรประเภท ข้าวนาหว่าน ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชผัก
                       และเกษตรกรรมประเภทอื่นๆ  (องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านกลึง,560)
                              จากข้อมูลทรัพยากรดินที่ส ารวจพบในพื้นที่ต าบลบ้านกลึง สามารถสรุปปัญหาเกี่ยวกับ
                       ทรัพยากรดิน พร้อมทั้งแนวทางในการจัดการดินเพื่อแก้ไขปัญหา ดังนี้

                            1.  พื้นที่ดินเป็นดินเปรี้ยว ปัญหาดิน  ดินเป็นกรดจัดมาก และมีศักยภาพก่อให้เกิดความเป็น
                       กรดของดินเพิ่มขึ้นในดินล่าง ท าให้เกิดการตรึงธาตุอาหารและปลดปล่อยสารเป็นพิษต่อพืช อีกทั้ง
                       จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ต่อพืชบางชนิด ไม่สามารถท างานหรือมีชีวิตอยู่ได้ โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้ง

                       แข็งและแตกระแหง ท าให้ไถพรวนยาก คุณภาพน้ าเป็นกรดจัดมาก ขาดแคลนแหล่งน้ าจืด น้ าท่วมขังใน
                       ฤดูฝน ท าความเสียหายกับพืชที่ไม่ชอบน้ า
                              2. ปัญหาดินเสื่อมโทรม เนื่องจากการใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง ขาดการบ ารุงและปรับปรุงดิน
                       เกษตรกรใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมีอย่างต่อเนื่องเพิ่มขึ้นทุกปี ท าให้ดินเสื่อมผลผลิตตกต่ า ต้นทุนสูงขึ้นเป็น
                       ผลมาจากการขาดความรู้และความเข้าใจในการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างผิดวิธี ไม่ตรงกับความต้องการของพืช


                       3.3 การจัดการดิน
                                  การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 2

                                  ปลูกข้าว ไถพรวนขณะที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสม ลดและควบคุมความเป็นกรดจัดมาก
                       ของดินด้วยวัสดุปูน 500 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงปลูก ไถกลบตอซัง ปล่อยไว้ 3-4 สัปดาห์
                       หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านโสนอัฟริกันหรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70
                       วัน ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพหรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า
                       หลังปักด า 35-40 วัน พัฒนาแหล่งน้ าไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ าหรือท านาครั้งที่ 2 หรือใช้ปลูกพืชไร่

                       หรือพืชผักหลังเก็บเกี่ยวข้าว ไถกลบตอซังและท าร่องแบบเตี้ย ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก
                       2-3 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือน้ าหมักชีวภาพ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39