Page 41 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       29







                       ธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในอัตราต่ าลงไปด้วย การตกกล้าในดินแห้งจะไม่ท าให้ต้นกล้าที่มีอายุ
                       มากกว่า 10 วันมีปล้องที่ล าต้น เหมาะส าหรับการตกกล้าที่ต้องรอน้ าฝนส าหรับปักด า
                              การตกกล้าแบบดาปก การตกกล้าแบบนี้เป็นที่นิยมท ากันมากในประเทศฟิลิปปินส์ ขั้นแรก
                       ท าการเตรียมพื้นที่ดินและแปลงกล้า ซึ่งเหมือนกับการตกกล้าในดินเปียกหรือจะเป็นที่ดอนเรียบก็ได้

                       แล้วใช้กาบของต้นกล้วยต่อกันเป็นกรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง 1 เมตร และยาวประมาณ 1.5
                       เมตร วางลงบนพื้นที่ที่ได้เตรียมไว้ ต่อจากนั้นเอาใบกล้วยที่ไม่มีก้านกลางวางเรียง เพื่อปูเป็นพื้นที่ใน
                       กรอบนั้น  ให้เอาด้านล่างของใบหงายขึ้น และไม่ให้มีรอยแตกของใบ เพราะฉะนั้นใบกล้วยที่ปูพื้นนั้น
                       จะต้องวางซ้อนกันเป็นทอด ๆ แล้วเอาเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ ซึ่งได้เพาะให้งอกแบบการตกกล้าในดิน

                       เปียก  โรยลงไปในกรอบที่เตรียมไว้นี้ โดยใช้เมล็ดพันธุ์หนัก 3 กิโลกรัมต่อเนื้อที่ 1  ตารางเมตร
                       ดังนั้น เมล็ดพันธุ์ที่โรยลงไปในกรอบจะซ้อนกันเป็น 2-3 ชั้น หลังจากโรยเมล็ดแล้ว จะต้องใช้บัวรดน้ า
                       ชนิดรูเล็กมาก รดลงในกรอบที่โรยเมล็ดนี้วันละ 2-3 ครั้ง ในที่สุดเมล็ดก็จะเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นต้นกล้า
                       ต้นกล้าแบบนี้อายุประมาณ 10-15 วัน  ก็พร้อมที่ใช้ปักด าได้ การที่จะเอาต้นกล้าไปปักด าไม่

                       จ าเป็นต้องถอนต้นกล้าเหมือนกับวิธีอื่น ๆ เพราะรากของต้นกล้าเกาะกันแน่น ระหว่างต้น และรากก็
                       ไม่ได้ทะลุใบกล้วยลงไปในดิน ฉะนั้น ชาวนาจึงท าการม้วนใบกล้วยแบบม้วนเสื่อโดยมีต้นกล้าอยู่
                       ภายใน การม้วนก็ควรม้วนหลวม ๆ ถ้าม้วนแน่นจะท าให้ต้นกล้าเสียหายได้ เมื่อถึงแปลงปักด าก็จะคลี่

                       มันออก แล้วแบ่งต้นกล้าไปปักด า การตกกล้าวิธีนี้อาจเหมาะกับการท ากล้าซิมในภาคเหนือ (การท า
                       กล้าซิม คือ การเอาต้นกล้าที่มีอายุ 10-14 วัน ไปปักด าในนา โดยปักด าถี่และปักด ากอละหลายๆ ต้น
                       หลังจากกล้าซิมมีอายุได้ 20 วัน ก็พร้อมที่จะถอนไปปักด าตามปกติ)
                              3) การปักด า เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 25-30 วัน จากการตกกล้าในดินเปียกหรือการตก
                       กล้าในดินแห้ง ก็จะโตพอที่จะถอนเอาไปปักด าได้ ส าหรับต้นกล้าที่ได้มาจากการตกกล้าแบบดาปก

                       นั้น ในเมืองไทยยังไม่เคยปฏิบัติ ควรจะต้องเอาไปซิมแบบชาวนาในจังหวัดเชียงรายเสียก่อนจึงเอาไป
                       ปักด าได้ เพราะต้นกล้าขนาด 10-14 วันนั้น อาจมีขนาดเล็กเกินไปที่จะใช้ปักด าในพื้นที่นาของเรา ซึ่ง
                       มีน้ าขังมาก ขั้นแรกให้ถอนต้นกล้าขึ้นมาจากแปลงแล้วมัดรวมกันเป็นมัดๆ ตัดปลายใบทิ้ง ถ้าต้นกล้า

                       เล็กมากไม่ต้องตัดปลายใบทิ้ง ส าหรับต้นกล้าที่ได้มาจากการตกกล้าในดินเปียก จะต้องล้างเอาดินที่
                       รากออกเสียด้วยแล้วเอาไปปักด าในพื้นที่นาได้เตรียมไว้ พื้นที่นาที่ใช้ปักด าควรมีน้ าขังอยู่ประมาณ  1-
                       10 เซนติเมตร เพราะต้นข้าวอาจจะถูกลมพัดจนพับลงได้ในเมื่อนานั้นไม่มีน้ าอยู่เลย ถ้าระดับน้ าในนา
                       นั้นลึกมาก ต้นข้าวที่ปักด าอาจจมน้ าในระยะแรกและท าให้ต้นข้าวต้องยืดต้นมากกว่าปกติจนมีผลให้

                       แตกกอน้อยการปักด าที่จะให้ได้ผลิตผลสูง จะต้องปักด าให้เป็นแถวเป็นแนว และมีระยะห่างระหว่าง
                       กอมากพอสมควร การปักด าโดยทั่วไปมักใช้ต้นกล้าจ านวน 3-5 ต้นต่อกอ ระยะปลูกหรือปักด าจะต้อง
                       มีระยะห่างระหว่างกอและระหว่างแถวประมาณ 25 เซนติเมตร
                              การปลูกข้าวนาหว่าน

                              เป็นการปลูกข้าวโดยเอาเมล็ดพันธุ์หว่านลงไปในพื้นที่นาที่ได้ไถเตรียมดินไว้ การเตรียมดินก็มี
                       การไถดะและไถแปรปกติชาวนาจะเริ่มไถนาเพื่อปลูกข้าวนาหว่านตั้งแต่เดือนเมษายน เนื่องจากพื้นที่
                       นาส าหรับปลูกข้าวนาหว่านไม่มีคันนากั้นแบ่งออกเป็นผืนเล็กๆ จึงสะดวกแก่การไถด้วยรถแทรกเตอร์
                       ขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตาม ยังมีชาวนาอีกจ านวนมากที่ใช้แรงวัวและควายไถนา การปลูกข้าวนาหว่านมี
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46