Page 42 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       30







                       หลายวิธีด้วยกัน เช่น การหว่านส ารวย การหว่านคราดกลบหรือไถกลบ  การหว่านหลังขี้ไถ และการ
                       หว่านน้ าตม
                              การหว่านส ารวย การหว่านวิธีนี้ชาวนาจะต้องเริ่มไถนาเตรียมดินตั้งแต่เดือนเมษายนซึ่งมี
                       การ ไถดะและไถแปร แล้วเอาเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ได้เพาะให้งอกหว่านลงไปโดยตรงปกติใช้เมล็ดพันธุ์1-2 ถัง

                       ต่อไร่เมล็ดพันธุ์ที่หว่านลงไปบางส่วนจะตกลงไปอยู่ตามซอก ระหว่างก้อนดินและรอยไถ เมื่อฝนตกลง
                       มา  ท าให้ดินเปียกและเมล็ดที่ได้รับความชื้น ก็จะงอกขึ้นมาเป็นต้นกล้า  การหว่านวิธีนี้ใช้เฉพาะใน
                       ท้องที่ที่ฝนตกตามฤดูกาล
                              การหว่านคราดกลบหรือไถกลบในกรณีที่ดินมีความชื้นอยู่บ้างแล้วและเป็นเวลาที่ฝนจะเริ่ม

                       ตก ตามฤดูกาลชาวนาจะปลูกข้าวแบบหว่านคราดกลบหรือไถกลบ โดยชาวนาจะท าการไถดะและไถ
                       แปร แล้วเอาเมล็ดพันธุ์ที่ยังไม่ได้ เพาะให้งอกจ านวน 1-2  ถังต่อไร่ หว่านลงไปทันที แล้วคราดหรือไถ
                       เพื่อกลบเมล็ดที่หว่านลงไปอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากดินมีความชื้นอยู่แล้ว เมล็ดก็จะเริ่มงอกทันทีหลังจาก
                       หว่านลงไปในดินวิธีนี้ดูเหมือนว่าจะดีกว่าวิธีแรกเพราะเมล็ดจะงอกทันทีหลังจากที่ได้หว่านลง

                       ไป  นอกจากนี้ การตั้งตัวของต้นกล้าก็ดีกว่าวิธีแรกด้วย เพราะเมล็ดที่หว่านลงไปถูกดินกลบฝังลึกลง
                       ไปในดิน
                              การหว่านน้ าตม การหว่านแบบนี้นิยมใช้ในพื้นที่ที่มีการชลประทานอย่างสมบูรณ์แบบ และ

                       พื้นที่นาเป็นผืนใหญ่ มีคันนากั้น  การเตรียมดินก็เหมือนกับการเตรียมดินส าหรับนาด า ซึ่งมีการไถดะ
                       ไถแปรและคราดเพื่อจะได้เก็บวัชพืชออกไปจากนา และปรับระดับพื้นที่นาแล้วทิ้ง ให้ดินตกตะกอน
                       จนเห็นว่าน้ าใส และน้ าในนา ไม่ควรลึกกว่า 2 เซนติเมตร จึงเอาเมล็ดพันธุ์จ านวน 1-2 ถังต่อไร่ ที่ได้
                       เพราะให้งอกแล้วหว่านลงไปเมล็ดก็จะเจริญเติบโตเป็นต้นข้าวและโผล่ขึ้นมาเหนือน้ ามีการ
                       เจริญเติบโตอย่างข้าวอื่นๆ ตามปกติ

                              การจัดการดินและปุ๋ยตามนิเวศน์การปลูกข้าว
                              ข้าวนาน้ าฝน : นาด า
                            ดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียว

                            การใส่ปุ๋ยแปลงกล้าข้าว
                            ในแปลงกล้าข้าว ควรใช้มูลสัตว์หรือปุ๋ยคอกในอัตรา 500  กรัม (น้ าหนักแห้ง)  ร่วมกับปุ๋ย
                       16-16-8 อัตรา 10 กรัมต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร หว่านรองพื้นก่อนหว่านเมล็ดพันธุ์ 1 วัน หรืออาจ
                       แยกหว่านปุ๋ย 16-16-8 ที่ 10-15 วันหลังหว่านเมล็ดก็ได้ แต่ในช่วง 7 วันก่อนถอนกล้าไม่ควรให้ปุ๋ย

                       ไนโตรเจน
                            การใส่ปุ๋ยแปลงปักด า
                            ก. การใส่ปุ๋ยเคมี
                            การใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 1

                             ข้าวไวต่อช่วงแสงใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟตสูตรต่างๆ เช่น 16-20-0,  18-22-0,  20-20-0
                       และ 18-46-0 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ ในวันปักด าหรือก่อนปักด า 1 วัน แล้วคราดกลบ (หรือใส่ปุ๋ย
                       หลังจากปักด า 15 วัน เมื่อต้นข้าวตั้งตัวได้แล้ว)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47