Page 43 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31







                             ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟตสูตรต่างๆ เช่น 16-20-0, 18-22-0, 20-20-0
                       และ 18-46-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ ในวันปักด าหรือก่อนปักด า 1 วัน แล้วคราดกลบ (หรือใส่ปุ๋ย
                       หลังจากปักด า 15 วัน เมื่อต้นข้าวตั้งตัวได้แล้ว)
                            การใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2

                            ข้าวไวต่อช่วงแสงใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0)  อัตรา 10  กิโลกรัมต่อไร่ หรือปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
                       (21-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะก าเนิดช่อดอก หรือ 30 วันก่อนข้าวออกดอก
                            ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หรือปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
                       (21-0-0) อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะก าเนิดช่อดอก หรือ 30 วันก่อนข้าวออกดอก

                            พันธุ์ข้าว  พันธุ์ข้าวเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส าคัญอันดับแรกในการเพิ่มประสิทธิภาพการ
                       ผลิตข้าวโดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนการผลิตถ้าหากว่ามีพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพทั้งข้าว
                       คุณภาพดี ข้าวคุณภาพปานกลาง ข้าวคุณภาพต่ า และข้าวคุณภาพพิเศษ ที่ตรงกับความต้องการของ
                       ตลาดและเพื่อท าผลิตภัณฑ์มีความต้านทานต่อโรคแมลง  และมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมใน

                       แต่ละท้องถิ่นแล้วจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน  การผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุนการผลิตข้าวได้เป็น
                       อย่างดี
                            ชนิดของพันธุ์ข้าว

                            แบ่งตามนิเวศน์การปลูก
                               ข้าวนาสวน ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ าขังหรือกักเก็บน้ าได้ระดับน้ าลึกไม่เกิน 50 เซนติเมตร ข้าว
                       นาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศไทย แบ่งออกเป็น ข้าวนาสวนนาน้ าฝน  และข้าวนาสวนนา
                       ชลประทาน
                               ข้าวนาสวนนาน้ าฝน ข้าวที่ปลูกในฤดูนาปี และอาศัยน้ าฝนตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุม

                       ระดับน้ าได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ การกระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาน้ าฝนประมาณ 70
                       เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด
                               ข้าวนาสวนนาชลประทาน ข้าวที่ปลูกได้ตลอดทั้งปีในนาที่สามารถควบคุมระดับน้ าได้  โดย

                       อาศัยน้ าจากการชลประทานประเทศ ไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาชลประทาน 24 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูก
                       ข้าวทั้งหมด และพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง
                               ข้าวขึ้นน้ า  ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ าท่วมขังในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว  มีระดับน้ าลึก
                       ตั้งแต่ 1-5 เมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้าวขึ้นน้ าคือ มีความสามารถในการ

                       ยืดปล้อง (internode elongation ability) การแตกแขนงและรากที่ข้อเหนือผิวดิน (upper nodal
                       tillering and rooting ability) และการชูรวง (kneeing ability)
                              ข้าวน้ าลึก  ข้าวที่ปลูกในพื้นที่น้ าลึก  ระดับน้ าในนามากกว่า 50  เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 100
                       เซนติเมตร

                              แบ่งตามการตอบสนองต่อช่วงแสง
                              ข้าวไวต่อช่วงแสง
                              เป็นข้าวที่ออกดอกเฉพาะเมื่อช่วงเวลากลางวันสั้นกว่า  12  ชั่วโมง โดยพบว่าข้าวไวต่อช่วง

                       แสงในประเทศไทยมักจะออกดอกในเดือนที่มีความยาว  ของกลางวันประมาณ 11  ชั่วโมง 40  นาที
                       หรือสั้นกว่านี้ ดังนั้นข้าวที่ออกดอกได้ในเดือนที่มีความยาวของกลางวัน 11 ชั่วโมง 40-50 นาที จึงได้
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48