Page 46 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       35







                       ระยะสั้นดังนั้นหากปัญหาดินกรดยังไม่ดีขึ้น อาจให้ปูนขาวอีกครั้งหลังจากครั้งแรก 2-3 สัปดาห์ ปูน
                       ขาวอาจท าให้ธาตุไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนียม เปลี่ยนกลับเป็นก๊าซแอมโมเนียมซึ่งเป็นอันตราย
                       ต่อรากและใบพืช ดังนั้นไม่ควรใช้ปูนขาวเมื่อในแปลงปลูกได้ให้ปุ๋ยสลายตัวช้าที่มีแอมโมเนียมอยู่ก่อน
                       แล้ว

                                         (3) การแก้ปัญหาดินด่าง สามารถกระท าได้โดยเพิ่มสารอินทรีย์ในดิน ซึ่งเป็น
                       ขบวนการที่ค่อนข้างช้าหรือใช้ก ามะถันผง แอมโมเนียมซัลเฟต และเหล็กซัลเฟต ในขณะก่อนปลูกพืช
                       หรือหลังปลูก  สารทั้ง 3 ชนิด สามารถผสมในดินแห้งได้ หรืออาจให้ได้โดยละลายน้ ารดบนดินเมื่อ
                       ปลูกพืชได้ สารพวกซัลเฟตจะท าปฏิกิริยาได้เร็วมาก ในขณะที่ก ามะถันผงจะต้องถูกสลายตัวโดย

                       จุลินทรีย์ก่อนซึ่งเป็นเวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์ ความเค็มของสารละลายในดิน ในการดูดน้ าของพืช
                       ส่วนใหญ่แล้วน้ าจะเคลื่อนที่จากสารละลายดินที่มีความเข้มข้นของเกลือต่ าเข้าสู่รากที่มีสารละลาย
                       เกลือความเข้มข้นสูงกว่า หากปริมาณสารละลายเกลือในสารละลายดินมากเกินไป จะท าให้น้ าไม่เข้า
                       สู่ราก ซึ่งพืชจะชะงักการเจริญเติบโตปลายรากตาย โดยเฉพาะบริเวณดินแห้ง เพราะปริมาณเกลือจะ

                       มีความเข้มข้นสูงใบจะแห้งโดยเฉพาะบริเวณขอบใบ  และจะแสดงอาการขาดธาตุอาหารต่าง ๆ ที่เป็น
                       ผลจากรากการรากเสียหายจนไม่สามารถดูดน้ า ปุ๋ยเม็ด และปุ๋ยสลายตัวช้า จะสลายตัวซึ่งให้เกลือที่
                       ละลายน้ า ปุ๋ยอินทรีย์บางชนิดมีธาตุไนโตรเจนสูง ก็เป็นแหล่งของเกลือ ดังนั้นในสารละลายดินควรมี

                       ปริมาณเกลือที่ละลายอยู่บ้าง เพื่อแสดงว่าได้ให้ปุ๋ยเพียงพอแต่ปริมาณเกลือก็ไม่ควรมากเกินไปจน
                       เกิดผลเสียแก่พืช เช่น เกลือแกง เป็นต้น การแก้ไขหากมีปริมาณเกลือที่ละลายน้ าได้ในดินมากเกินไป
                       ก็สามารถแก้ไขได้โดยการชะล้างเกลือออกโดยใช้น้ าปริมาณมาก เพื่อรักษาโครงสร้างของดินจึงมี
                       ค าแนะน าให้ชะล้างเกลือด้วยน้ า 200 ลิตรต่อตารางเมตร โดยใช้ระบบน้ าเหวี่ยง
                                     3) ประโยชน์ของแร่โดโลไมท์ต่อการเกษตร

                                         (1) ให้ธาตุอาหารหลักแก่พืช เพราะแร่โดโลไมท์ ที่เราขุดพบนั้นมีส่วนประกอบ
                       ของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                                         (2) ให้ธาตุอาหารรองแก่พืช นอกจากจะมีธาตุอาหารหลักแล้ว จากการส่งตรวจ

                       วิเคราะห์ยังพบธาตุอาหารเสริมที่จ าเป็นแก่พืช อาทิ เหล็ก แมงกานิส ทองแดง และสังกะสี อีกด้วย
                                         (3) ปรับปรุงบ ารุงดินให้ร่วนซุย เนื่องจากโดโลไมท์เป็นแร่ที่มีลักษณะพรุนช่วยให้
                       อากาศถ่ายเทได้สะดวก ท าให้จุลินทรีย์ในดินที่เป็นประโยชน์ต่อพืชท างานได้เต็มประสิทธิภาพที่ดี
                                         (4) ปลดปล่อยธาตุอาหารในดิน ดินที่ถูกตรึงธาตุอาหารไว้ เนื่องจากการใช้

                       ปุ๋ยเคมีมาเป็นเวลานานและท าให้ปุ๋ยเคมีสะสมในดินเป็นจ านวนมาก จึงท าให้รากพืชสามารถดูดและ
                       น าพาปุ๋ยเคมีสะสมในดินเป็นจ านวนมาก จึงท าให้รากพืชสามารถดูดและน าพาปุ๋ยที่สะสมในดินไปใช้
                       ประโยชน์ได้ทั้งหมด
                                         (5) แก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยว ดินพรุน ดินดาน ดินเสื่อมโทรม และดินที่ใช้ท า

                       การเกษตรมาเป็นเวลานาน ๆ สามารถปรับสภาพดินให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะกับการท า
                       การเกษตร ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพสูง
                                         (6) ป้องกันและแก้ปัญหาพืชโตช้า แคระแกร็น ใบเหลือง ใบซีด ใบหงิกงอ ดอก
                       ผลร่วง ผลมีขนาดเล็ก รูปทรงผิดส่วน ผลผลิตต่ า ใช้โดโลไมท์ ซึ่งเป็นแร่ธรรมชาติปรับสภาพดิน จะ

                       ช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างเห็นผลได้ดี
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51