Page 48 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37







                       ทั้ง  2 ครั้ง  ในอัตราไม่เกินไร่ละ 20 กิโลกรัม  ครั้งที่ 1 ระยะก่อนปักด า 1 วัน  หรือหลังจากปักด าได้
                       7-10  วัน  และครั้งที่ 2 ในระยะข้าวตั้งท้อง  เกษตรกรมีปัญหามากที่สุดคือการไม่มีเงินทุน
                              นันทนา และคณะ (2533) ศึกษาการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวตามค่าการวิเคราะห์ดิน โดยได้ท า
                       การทดลองที่ศูนย์บริการวิชาการเกษตร มูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัดปทุมธานี โดยวางแผนการทดลอง

                       แบบ Randomized complete block design มี 4 ซ้ า และใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธี ต่างๆ  5 กรรมวิธี
                       คือ (1) ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (2) การใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าของศูนย์บริการวิชาการเกษตรฯ (14-6-0 กิโลกรัม
                       ต่อไร่) (3) การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของกรมการข้าว (12-3-0 กิโลกรัมต่อไร่) (4) การใส่ปุ๋ยตาม
                       ค่าวิเคราะห์ดินแบบสั่งตัด (8-4-1 กิโลกรัมต่อไร่) (5) การใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร

                       (9-4.6-0 กิโลกรัมต่อไร่) ใช้พันธุ์ข้าว กข.31 จากผลการทดลอง พบว่า ทุกกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยให้ผลผลิต
                       มากกว่าที่ไม่ใส่ปุ๋ยอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และการใส่ปุ๋ยเคมีทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันในการ
                       เพิ่มความสูง จ านวนต้น จ านวนรวง และผลผลิตข้าว ซึ่งกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของ
                       กรมการข้าวให้ผลผลิต รายได้และรายได้สุทธิสูงกว่ากรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอื่น ๆ

                              สุรชัย (2544) ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างปูนมาร์ลและหินฟอสเฟตต่อปริมาณธาตุอาหารในดิน
                       ที่สกัดได้ การเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวที่ปลูกในดินเปรี้ยวจัดสามชั้นความเหมาะสมการศึกษา
                       อิทธิพลของการใช้ปูนมาร์ล 3 อัตรา คือ  0, 0.5 และ 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับหินฟอสเฟต 5 อัตรา คือ

                       0,4,8,12, และ16 กิโลกรัม ฟอสเฟตต่อไร่ ในดินเปรี้ยวจัดสามชุดดิน ได้แก่  ชุดดินเสนา รังสิต และ
                       องครักษ์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของการใช้ปูนที่มีต่อประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยหินฟอสเฟตส าหรับข้าว
                       เพื่อศึกษาผลตองสนองของข้าวและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของหินฟอสเฟตกับปุ๋ยทริปเปิลซูเปอร์
                       ฟอสเฟต ในอัตราแนะน าเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์จากการใช้ปูน
                       มาร์ลและหินฟอสเฟต  เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเคมีดินบางประการจากการใช้ปูนมาร์ลและ

                       หินฟอสเฟต เพื่อศึกษาถึงการเจริญเติบโต องค์ประกอบของผลผลิต ตลอดจนการดูดดึงธาตุอาหาร
                       ข้าว เพื่อศึกษาผลตกค้างของปูนมาร์ลและปุ๋ยฟอสเฟต พบว่าการใช้ปูนมาร์ลไม่มีผลท าให้
                       ประสิทธิภาพของหินฟอสเฟตเพิ่มขึ้นในด้านผลผลิตข้าวทั้งสองปีในทั้งสามชุดดิน  ในปีที่ 1 การใช้ปูน

                       มาร์ลไม่มีผลท าให้ผลผลิตข้าวในชุดดินเสนา และ รังสิต แตกต่างกัน แต่การใช้ปูนมาร์ลอัตรา 0.5 ตัน
                       ต่อไร่  ท าให้ผลผลิตข้าวในดินชุดรังสิตกรดจัดสูงที่สุด ผลตกค้างของปูนมาร์ลต่อผลผลิต ในปีที่ 2
                       พบว่าไม่มีผลท าให้ผลผลิตข้าวแตกต่างกันในทั้งสามชุดดิน การใช้หินฟอสเฟตในปีที่ 1 ไม่มีผลท าให้
                       ผลผลิตข้าวแตกต่างกันในทั้งสามชุดดินการใช้ปูนมาร์ลร่วมกับปุ๋ยหินฟอสเฟตไม่มีผลแตกต่างไปจาก

                       การใช้ปูนมาร์ลอัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยทริปเปิลซูเปอร์ฟอสเฟตอัตรา 8 กิโลกรัม ฟอสเฟต
                       (P O ) ต่อไร่ ในด้านผลผลิตข้าว  การใช้ปูนมาร์ลร่วมกับหินฟอสเฟตมีแนวโน้มในการท าให้ผลผลิต
                        2 5
                       ข้าวดีกว่าทั้งสามชุดดิน ผลตกค้างของหินฟอสเฟตมีแนวโน้มให้ผลผลิตข้าวสูงกว่าปุ๋ยทริปเปิลซูเปอร์
                       ฟอสเฟตในชุดดินเสนาและรังสิตแต่มีแนวโน้มต่ ากว่าปุ๋ยทริปเปิลซูเปอร์ฟอสเฟตในชุดดินรังสิตกรด

                       จัด
                              จุฑามาศ และคณะ (2557) ศึกษาการจัดการดินและปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อการผลิต
                       ข้าวของเกษตรกรต าบลกระเบื้องใหญ่ อ าเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบว่า (1)
                       เกษตรกรผู้ปลูกข้าวส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 51-60 ปี แหล่งรายได้หลักของครอบครัว

                       คือ เกษตรกรรม (2) สภาพพื้นที่ปลูกข้าวเป็นนาลุ่ม ปลูกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ด้วยวิธีหว่านแห้ง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53