Page 42 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31







                                        11) วิธีการใช้สารควบคุมแมลงศัตรูพืช
                                              (1) ใส่สารจับใบ เช่น น้ ายาล้างจาน 10 มิลลิลิตร ลงในสารควบคุมแมลงศัตรูพืช
                       10 ลิตร
                                              (2) พืชไร่ พืชผัก และไม้ดอก ฉีดพ่นสารควบคุมแมลงศัตรูพืชที่เจือจางแล้วอัตรา

                       50 ลิตรต่อไร่
                                              (3) ไม้ผล  ฉีดพ่นสารควบคุมแมลงศัตรูพืชที่เจือจางแล้ว อัตรา 100 ลิตรต่อไร่
                                              (4) ท าการฉีดพ่นที่ใบ ล าต้น หรือบริเวณที่มีหนอนหรือเพลี้ยอาศัยอยู่
                                         12) ประโยชน์ของสารเร่งซุปเปอร์ พด.7

                                              ป้องกันแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยต่างๆ หนอนเจาะผลและล าต้น หนอนใบผัก
                       หนอนชอนใบ หนอนคืบ หนอนกระทู้ หนอนกอ ไรแดง และแมลงหวี่ เป็นต้น

                               3.8.3 การไถกลบตอซังเพื่อปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตข้าว (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)

                                          การไถกลบตอซัง หมายถึง การไถกลบตอซังข้าวหรือพืชไร่ที่มีอยู่ในไร่นาภายหลังจาก
                       การเก็บเที่ยวผลผลิตแล้วลงไปในดินระหว่างการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกขณะที่ดินมีความชื้น และปล่อย
                       ทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้เกิดกระบวนการย่อยสลายในดินซึ่งจะกลายเป็นแหล่งของอินทรียวัตถุและ

                       ธาตุอาหารพืช แล้วจึงปลูกพืชหลักตามที่ต้องการต่อไป
                                     ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 65 ล้านไร่ หรือประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่
                       ทั้งประเทศ ได้ผลผลิตข้าว 24 ล้านตัน มีฟางข้าวเฉลี่ยประมาณปีล่ะ 25.45 ล้านตัน และมีปริมาณตอ
                       ซังข้าวที่ตกค้างอยู่ในนาข้าว 16.9 ล้านตันต่อปี ดังนั้นจึงนับได้ว่ามีปริมาณฟางข้าวและตอซังมากที่สุด
                       ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จ านวน 13.7 และ 9.1 ล้านตันต่อปี รองลงมาคือภาคกลาง และภาค

                       ตะวันออกมีจ านวนฟางข้าวและตอซัง 6.2 และ 4.1 ล้านตันต่อปี และในพื้นที่ปลูกข้าว 1 ไร่ มี
                       ปริมาณฟางข้าวและตอซัง โดยเฉลี่ยปีละ 650 กิโลกรัม
                                          ตอซังข้าวหรือฟางข้าวเป็นวัสดุที่ย่อยสลายง่าย มีค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน

                       เฉลี่ย 99:1  มีปริมาณธาตุอาหารหลักของพืชได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม  เฉลี่ย
                       0.51 0.14 และ 1.55 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณธาตุอาหารารองของพืชได้แก่ แคลเซียม แมกนีเซียม และ
                       ซัลเฟอร์ เฉลี่ย 0.47 0.25 และ 0.17 เปอร์เซ็นต์
                                     1) ประโยชน์จาการไถกลบตอซังข้าว

                                             (1) ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน
                                                 - ท าให้ดินโปร่ง ร่วนซุย  ง่ายต่อการเตรียมดิน  การปักด ากล้า และท าให้ระบบ
                       รากพืชสามารถแพร่กระจายในดินได้มากขึ้น
                                                 - การระบายอากาศของดินเพิ่มมากขึ้น

                                                 - เพิ่มการซึมผ่านของน้ า และการอุ้มน้ าของดินให้ดีขึ้น
                                            (2) ปรับปรุงสมบัติทางเคมีของดิน
                                                - เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดินโดยตรง ถึงแม้ปริมาณธาตุอาหารจะไม่มาก
                       เมื่อเปรียบเทียบกับปุ๋ยเคมี    แต่จะมีธาตุอาหารครบถ้วนตามที่พืชต้องการทั้งธาตุอาหารหลัก

                       (ไนโตเจน  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียม ) ธาตุอาหารรอง (แคลเซียม แมกนีเซียม และก ามะถัน)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47