Page 41 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       30







                                     6) วิธีผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช
                                              (1) สับพืชสมุนไพรให้เป็นชิ้นเล็ก ทุบหรือต าให้แหลก
                                              (2) น าพืชสมุนไพรและร าข้าวใส่ลงในถังหมัก
                                              (3) ละลายกากน้ าตาลในน้ า แล้วใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 ผสมให้เข้ากัน 5 นาที

                                              (4) เทสารละลายใส่ลงในถังหมักคลุกเคล้าและคนให้เข้ากัน
                                              (5) ปิดฝาถังไม่ต้องแน่น ตั้งทิ้งไว้ในที่ร่ม และคนทุกวัน ใช้ระยะเวลาในการหมัก
                       21 วัน
                                     7)  การพิจารณาลักษณะที่ดีทางกายภาพในระหว่างการหมักเพื่อผลิตสารควบคุม

                       แมลงศัตรูพืช
                                             (1) การเจริญของจุลินทรีย์ เกิดฝ้าของเชื้อจุลินทรีย์เจริญเต็มผิวหน้า หลังจากการ
                       หมัก 1–3 วัน
                                                          2
                                             (2) การเกิดฟองก๊าซ CO  มีฟองก๊าซเกิดขึ้นบนผิวและใต้ผิววัสดุหมัก
                                             (3) การเกิดกลิ่นแอลกอฮอล์ ได้กลิ่นแอลกอฮอล์ฉุนมาก
                                             (4) ความใสของสารละลาย เป็นของเหลวใสและมีสีเข้ม
                                     8) การพิจารณาสารควบคุมแมลงศัตรูพืชที่หมักสมบูรณ์แล้ว

                                             (1) เกิดฝ้าจุลินทรีย์เจริญบนผิววัสดุหมักหลังจากหมัก 5-7 วัน หลังจากนั้นฝ้า
                       จุลินทรีย์จะค่อยๆ ลดลง
                                                            2
                                             (2) ไม่ปรากฏฟองก๊าซ CO  หรือมีน้อยลง
                                             (3) กลิ่นแอลกอฮอล์ลดลง
                                             (4) สารละลายมีสภาพเป็นกรด ระหว่าง 3-4 และได้กลิ่นเปรี้ยว

                                     9) คุณสมบัติของสารควบคุมแมลงศัตรูพืช
                                             (1) มีสารออกฤทธิ์ที่สกัดได้จากสมุนไพรชนิดต่างๆ เช่น สารอะซาติแรคติน A, สาร
                       โรตินิน, pinene, neptha, quinine, geraniol cironellal, limonene และ phellandrene เป็น

                       ต้น
                                             (2) มีสารพวก Repellant  สามารถไล่แมลงชนิดต่างๆ เช่น alkaloid,  saponin,
                       gum, essential oil, tannin และ steroid เป็นต้น
                                             (3) มีกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่น กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดฟอร์มิก และกรด

                       อะมิโน เป็นต้น
                                             (4) มีฮอร์โมนหลายชนิด   เช่น   ออกซิน   ไซโตไคนิน   โดยเฉพาะ จิบเบอเรลลิน
                                             (5) มีความเป็นกรดเป็นด่าง ระหว่าง 3–4
                                        10) อัตราการใช้สารควบคุมแมลงศัตรูพืช

                                             (1) เจือจางสารควบคุมแมลงศัตรูพืช : น้ า เท่ากับ  1 : 100
                                             (2) ฉีดพ่นทุกๆ 3-5 วัน และฉีดต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ครั้ง ขึ้นอยู่กับการระบาดของ
                       หนอนและเพลี้ย ควรฉีดพ่นช่วงตัวอ่อน หรือช่วงที่เพลี้ยยังไม่เกิดแป้ง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46