Page 44 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33







                                        (2) สูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน คาร์บอนและอินทรีย์ในดินเมื่อถูกเผาจะ
                       กลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูญเสียไปในบรรยากาศ ส่วนธาตุอาหารจะแปรสภาพให้อยู่ในรูปที่
                       สามารถสูญเสียไปจากดินได้ง่าย
                                        (3) ท าลายจุลินทรีย์และแมลงที่เป็นประโยชน์ในดิน ท าให้ปริมาณกิจกรรมของ

                       จุลินทรีย์ดินลดลง เช่น กิจกรรมเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนจากบรรยากาศให้อยู่ในรูปของสารประกอบ
                       ไนโตรเจนที่พืชใช้ประโยชน์ได้ การแปรสภาพอนินทรีย์ฟอสฟอรัสให้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ า
                       ได้  และการย่อยสลายอินทรีย์สารเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน นอกจากนั้นตัวอ่อนของแมลง
                       ศัตรูพืชเช่นตัวห้ าตัวเบียนที่อาศัยอยู่ในดินหรือตอซังพืชรวมทั้งจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมโรคพืชถูก

                       เผาท าลายไป ซึ่งหากระบบนิเวศน์ของดินไม่สมดุลจะท าให้การแพร่ระบาดของโรคเกิดง่ายขึ้น
                                        (4) สูญเสียน้ าในดิน การเผาตอซังพืชท าให้ผิวดินมีอุณหภูมิสูงถึง 90 องศาเซลเซียส น้ า
                       ในดินจะระเหยสู่บรรยากาศอย่างรวดเร็ว  ให้ความชื้นของดินลดลง
                              3.8.4 ปูนโดโลไมท์เพื่อการปรับปรุงบ ารุงดิน (สรัญญาและคณะ, 2548)

                                     เป็นสารปรับสภาพดิน  และปรับโครงสร้างดิน  ลดความเป็นกรด  แก้ดินเปรี้ยวรักษา
                       อาการดินเสีย ที่เป็นสาเหตุที่ท าให้พืชไม่ดูดปุ๋ย ให้ปุ๋ยไปมากเท่าไหร่ พืชก็ไม่ดูดกิน อันเนื่องมาจากดิน
                       เสีย  เพราะใช้เคมีกับดินมาเป็นเวลานาน  มีส่วนประกอบ  ได้แก่  แคลเซียมออกไซด์  35  เปอร์เซ็นต์

                       แมกนีเซียมออกไซด์ 25 เปอร์เซ็นต์ และซิลิกอนไดออกไซด์ 10 เปอร์เซ็นต์ โดยทั่วไปโดโลไมท์ที่ใช้ใน
                       การเกษตรเพื่อปรับสภาพดิน หรือให้ธาตุอาหารหลัก และอาหารรองแก่ดิน พืช แรกเริ่มจะมีลักษณะ
                       เป็นผงฝุ่น  ต่อมาได้มีการพัฒนาการเป็นชนิดอัดเม็ด  มีขนาดใกล้เคียงกับปุ๋ยเคมี  เพื่อความสะดวกต่อ
                       การใช้งานทางด้านการเกษตร  เช่น  ใส่ไปกับเครื่องหยอดปุ๋ยได้  ในขั้นตอนปั้นเม็ดของผู้ผลิตบางราย
                       ได้มีการพบธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์แก่พืชลงไป เพื่อให้ผลผลิตทางด้านเกษตรกรรมดีขึ้น

                                   1) การปรับสภาพดินด้วยโดโลไมท์
                                          โดโลไมท์ช่วยในการปลูกพืช ปรับสภาพน้ า ปราศจากสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
                       ช่วยในการเจริญเติบโตใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้ถึงกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ลดต้นทุนการผลิตของ

                       เกษตรกร ส่วนประกอบส าคัญ :  แคลเซียมไม่ต่ ากว่า 43 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียมไม่ต่ ากว่า 22
                       เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังประกอบด้วย แร่ธาตุ ซิลิกอน โซเดียม เหล็ก แมงกานีส ทาลิเนียม
                       ฟอสฟอรัส ฯลฯ ท ามาจากหินฟอสเฟตจากธรรมชาติ ที่มีชื่อทางการว่าโดโลไมท์ ซึ่งเป็นที่ยอมรับทาง
                       หน่วยงานในภาครัฐมีการรณรงค์ให้เกษตรกรหันมาใช้ เพราะนอกจากจะเป็นการปรับปรุงบ ารุงดิน

                       และน้ าโดยวิธีธรรมชาติแล้ว ท าให้เกษตรกรลดค่าใช้จ่ายจากเดิมได้มากขึ้น  คุณสมบัติในดินช่วย
                       เสริมสร้างส่วนที่เป็นดอก การผสมเกสร และการติดเมล็ด เร่งสร้างความเจริญเติบโต และให้ผลผลิต
                       ของพืชเพิ่มภูมิต้านทาน เสริมต้นพืชให้แข็งแรง ทนต่อสภาพแวดล้อม และโรคแมลงต่างๆ ควบคุมค่า
                       ความเป็นกรดเป็นด่างด้วย กล่าวคือ ในสภาพดินที่มีแนวโน้มการเป็นกรดเป็นด่างสูงให้ใช้ปุ๋ยโดโลไมท์

                       นั้น ควรให้ก่อน หรือหลังใส่ปุ๋ยประมาณ 1 เดือน เพื่อป้องกันการดูดตรึงธาตุอาหารไว้ในดินท าให้
                       มะพร้าวไม่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้การปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินโดยทั่วไปสภาพ
                       ดินมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการใส่ปุ๋ยเคมีติดต่อกันมาเป็นระยะเวลานานหลายปีเกิดการ
                       เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของดิน เช่น ดินจับแข็งเป็นก้อนซึ่งเกิดจากการตรึงธาตุอาหารบางชนิดที่

                       จ าเป็นต่อกากรไถพรวนดินที่ผิดวิธีที่ก่อให้เกิดการชะล้างของผิวดินการปลูกพืชชนิดเดียวกันเป็นเวลา
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49