Page 40 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       29







                                              (2) การหมักพืชสมุนไพรแห้ง
                                                  พืชสมุนไพร                10  กิโลกรัม
                                                  กากน้ าตาล                20  กิโลกรัม
                                                  ร าข้าว                   100  กรัม

                                                  น้ า                      60  ลิตร
                                                  สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 (1 ซอง)   25  กรัม
                                     4) ชนิดพืชสมุนไพร
                                              (1) พืชสมุนไพรที่ใช้ป้องกันพวกเพลี้ย ได้แก่ ตะไคร้หอม หางไหล สาบเสือ หนอน

                       ตายอยาก บอระเพ็ด กระทกรก และข่า เป็นต้น
                                              (2) สมุนไพรป้องกันหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร หางไหล
                       ตะไคร้หอม เปลือกแค สาบเสือ หนอนตายอยาก สะเดา ว่านเศรษฐี และว่านน้ า เป็นต้น
                                              (3) สมุนไพรที่ป้องกันและเป็นพิษต่อแมลงวันทอง ได้แก่ หมาก เมล็ดน้อยหน่า

                       เมล็ดเงาะ ยาสูบ พริกไทยด า ขิง และพญาไร้ใบ
                                              (4) สมุนไพรที่ไล่แมลงไม่ให้วางไข่ ได้แก่ ค าแสด มะกรูด ตะไคร้ เมล็ดละหุ่ง
                       มะนาว พริก และพริกไทย เป็นต้น

                                     5) เคล็ดลับการใช้สารป้องกันแมลงศัตรูจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.7 และชนิดพืช
                       สมุนไพรให้มีประสิทธิภาพ
                                             (1) ใช้ให้ถูกส่วนในต้นพืชจะมีสารออกฤทธิ์ไม่เท่ากันทุกส่วนจึงควรเลือกใช้ส่วนของ
                       พืชที่มีสารออกฤทธิ์ในปริมาณสูง เพื่อมีประสิทธิภาพในการป้องกันแมลงศัตรูพืช เช่น สารสกัด
                       อะซาดิแรคติน ที่พบในสะเดาจะมีมากที่เนื้อในเมล็ด หรือสารสกัดโรตินิน ที่พบในหางไหลแดงจะมี

                       ปริมาณมากที่ส่วนราก    เป็นต้น
                                             (2) ฉีดพ่นสารสกัดสมุนไพรที่ผลิตจากสารเร่ง พด.7 ในอัตราความเข้มข้นที่
                       เหมาะสมและตามที่แนะน า หากฉีดพ่นในอัตราส่วนความเข้มข้นสูงเกินไปอาจจะส่งผลเป็นพิษต่อพืช

                       ได้
                                             (3) ใช้ให้ถูกต้อง เนื่องจากสมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซ้ ากันมาก และยังมีชื่อท้องถิ่นซึ่ง
                       เรียกต่างกันออกไปท าให้เกิดการสับสนในการใช้งาน
                                             (4) จุดด้อยของสารสกัดจากสมุนไพร คือ สารอกฤทธิ์สลายตัวเร็วไม่ทนทานต่อ

                       แสงแดดจึงควรฉีดพ่นตอนเช้าก่อนแดดออก หรือตอนเย็นหลังพระอาทิตย์ตกดิน ฤทธิ์ของสารสกัดไม่
                       แรงเหมือนสารเคมีจึงต้องฉีดพ่นบ่อยครั้ง
                                             (5) ไม่ควรใช้สารสกัดสมุนไพรตัวใดตังหนึ่งเพียงอย่างเดียวเป็นประจ า ท าให้แมลง
                       และหนอนปรับตัวกลายเป็นดื้อยาได้ ควรเปลี่ยนหรือสลับกันใช้ในการหมักสมุนไพรจึงควรหมักพืช

                       สมุนไพรแต่ละชนิดแยกกัน เพื่อสะดวกกับการเลือกใช้และปรับเปลี่ยนจะท าให้ได้ผลแน่นอนขึ้น
                                             (6) ควรผสมสารจับใบ เช่น น้ าสบู่ น้ ายาล้างจาน แชมพู อัตรา 10 มิลลิลิตรต่อน้ า
                       20 ลิตร เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45