Page 38 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                                     4) ส่วนผสมส าหรับผลิตน้ าหมักชีวภาพ
                                              (1) น้ าหมักชีวภาพจากผัก/ผลไม้ : จ านวน 50 ลิตร หมัก 7 วัน
                                               ผักหรือผลไม้              40     กิโลกรัม
                                               กากน้ าตาล                10     กิโลกรัม

                                               น้ า                      10     ลิตร
                                               ซุปเปอร์ พด.2 (1 ซอง)     25     กรัม
                                             (2) น้ าหมักชีวภาพจากปลา/หอยเชอรี่: จ านวน 50 ลิตร หมัก 15–20 วัน
                                               ปลาหรือหอย                30     กิโลกรัม

                                               ผลไม้                     10     กิโลกรัม
                                               กากน้ าตาล                10     กิโลกรัม
                                               น้ า                      10     ลิตร
                                               ซุปเปอร์ พด.2 (1 ซอง)     25     กรัม

                                          5) วิธีการผลิตน้ าหมักชีวภาพ
                                              (1) หั่นหรือสับวัสดุพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ ผสมกับกากน้ าตาลในถังหมักขนาด
                       50 ลิตร

                                              (2) น าสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 1 ซอง ผสมในน้ า 10 ลิตร คนให้เข้ากันนาน
                       5 นาที
                                              (3) เทสารละลายสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ลงในถังหมักคนส่วนผสมให้เข้ากัน
                                              (4) ปิดฝาไม่ต้องสนิทและตั้งไว้ในที่ร่ม
                                              (5) ในระหว่างการหมักคนหรือกวน 1-2 ครั้ง/วัน เพื่อระลายก๊าซ

                       คาร์บอนไดออกไซด์
                                       (6) การพิจารณาน้ าหมักชีวภาพที่สมบูรณ์แล้ว การเจริญของจุลินทรีย์น้อยลง
                       โดยคราบเชื้อที่พบในช่วงแรกจะลดลง ไม่พบฟองก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลิ่นแอลกอฮอล์ลดลง

                                     6) คุณสมบัติของน้ าหมักชีวภาพ
                                             (1) มีฮอร์โมนหรือสารเสริมการเจริญเติบโตหลายชนิด เช่น ออกซิเจน จิบเบอ
                       เรลลิน  ไซโตไคนิน
                                             (2) มีกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่น กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดอะมิโน   และกรด

                       ฮิวมิก
                                             (3) มีวิตามินบี เช่น วิตามินบีสองและไนอะซีน
                                             (4) มีความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 3 – 4
                                     7) สารเร่งการเจริญเติบโตหรือฮอร์โมนพืช

                                             การใช้ประโยชน์ของน้ าหมักชีวภาพทางการเกษตร องค์ประกอบที่ส าคัญคือ สาร
                       เสริมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมน โดยเป็นสารที่พืชสามารถสร้างเองตามธรรมชาติ และมี
                       จุลินทรีย์บางชนิดสังเคราะห์ฮอร์โมนได้ ฮอร์โมนที่พบโดยทั่วไปในน้ าหมักชีวภาพ และมีบทบาท
                       ส าคัญต่อพืช ดังนี้
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43