Page 35 - การใช้เทคโนโลยีการจัดการดินและการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24







                              ข้าวชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักน ามากิน คือ ข้าวป่า ซึ่งข้าวป่าในช่วงแรกจะมีก้าน และใบเดี่ยว
                       แต่ที่ปลูกใหม่มีถึง 5 ก้าน เป็นการแสดงให้เห็นว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว มนุษย์เริ่มเข้าใจว่าหากปลูก
                       ข้าวลงดินเองจะเพิ่มขึ้นถึง 5 เท่า แต่ข้าวที่ปลูกและซื้อขายกันในตลาดโลกเกือบทั้งหมดจะเป็นข้าว
                       จากทวีปเอเชียแบ่งเป็น 3 กลุ่ม  ตามลักษณะและพื้นที่ปลูกได้ดังนี้

                              3.5.1 ข้าวอินดิกา (Indica) หรือข้าวเจ้า เป็นข้าวที่มีลักษณะเม็ดยาวรี ล าต้นสูง ตั้งชื่อมาจาก
                       แหล่งที่ค้นพบครั้งแรกในประเทศอินเดีย เป็นข้าวที่นิยมเพาะปลูกในทวีปเอเชีย เขตมรสุม ตั้งแต่ จีน
                       เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไทย อินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา ซึ่งคนไทยสมัยนั้นเรียกข้าวอินดิกาที่มา
                       จากต่างประเทศ ว่าข้าวของเจ้า แล้วเรียกกันสั้นลงเหลือเพียง ข้าวเจ้า มาถึงทุกวันนี้

                              3.5.2 ข้าวจาปอนิกา (Japonica) เป็นข้าวเหนียว เมล็ดป้อม กลมรี มีแหล่งก าเนิดจาสกทาง
                       ภาคเหนือ แล้วผ่านมาทางลุ่มแม่น้ าโขง
                              3.5.3 ข้าวจาวานิกา (Javanica) เป็นข้าวลักษณะเมล็ดป้อมใหญ่ สันนิษฐานว่า เป็นข้าวพันธุ์
                       ผสมระหว่างข้าวอินดิกา และจาปอนิกา นิยมเพาะปลูกในอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน หมู่เกาะริว

                       กิว และญี่ปุ่น แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก เพราะให้ผลผลิตต่ า
                                     ปัจจุบัน การปลูกข้าวในประเทศไทย คงมีเพียงข้าวเมล็ดป้อมที่พบมากในภาคเหนือ
                       และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่ข้าวเมล็ดยาว พบมากในภาคกลางและภาคใต้  ที่มีความอุดม

                       สมบูรณ์มากที่สุด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ปลูกข้าว คิดเป็นร้อยละ 45 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้ง
                       ประเทศ

                       3.6 พันธุ์ข้าว
                              ศุภวรรณ์ (2551) กล่าวถึงพันธุ์ข้าวเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส าคัญอันดับแรกในการเพิ่ม

                       ประสิทธิภาพการผลิตข้าว โดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต ถ้าหากว่ามีพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูงและมี
                       คุณภาพ ทั้งข้าวคุณภาพดี ข้าวคุณภาพปานกลาง ข้าวคุณภาพต่ า และข้าวคุณภาพพิเศษ ที่ตรงกับ
                       ความต้องการของตลาดและเพื่อท าผลิตภัณฑ์มีความต้านทานต่อโรคแมลง และมีความเหมาะสมกับ

                       สภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่นแล้วจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการผลิตข้าวหรือเป็นการลดต้นทุนการ
                       ผลิตข้าวได้เป็นอย่างดี ส านักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ได้ด าเนินงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวมาอย่าง
                       ต่อเนื่องจนได้ข้าวพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะน า และพันธุ์ทั่วไป ให้เกษตรกรปลูกในระบบนิเวศต่างๆ ซึ่งมี
                       ทั้งพันธุ์ข้าวนาสวน ข้าวไร่  ข้าวขึ้นน้ า ข้าวน้ าลึก ธัญพืชเมืองหนาว และข้าวญี่ปุ่น จ านวน 93 พันธุ์

                       โดยชนิดของพันธุ์ข้าวแบ่งตาม
                              3.6.1 แบ่งตามนิเวศน์การปลูก
                                     1) ข้าวนาสวน ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ าขังหรือกักเก็บน้ าได้ระดับน้ าลึกไม่เกิน 50
                       เซนติเมตร แบ่งออกเป็น

                                      (1) ข้าวนาสวนนาน้ าฝนข้าวที่ปลูกในฤดูนาปี และอาศัยน้ าฝนตามธรรมชาติไม่
                       สามารถควบคุมระดับน้ าได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ การกระจายตัวของฝน
                                      (2) ข้าวนาสวนนาชลประทานข้าวที่ปลูกได้ตลอดทั้งปีในนาที่สามารถควบคุมระดับ
                       น้ าได้ โดยอาศัยน้ าจาการชลประทาน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40