Page 90 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         79


                  จะช่วยลดแรงงานในการกลับกองปุ๋ยหมัก  แต่อย่างไรในช่วงแรกของการท่าปุ๋ยหมักควรจะมีการกลับกองปุ๋ย

                  หมักบ้าง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงระหว่างสัปดาห์แรกของการกองปุ๋ยหมัก (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน,
                  2551; ยงยุทธและคณะ, 2551)












                     ภาพที่ 5.1 การใช้ท่อหรือไม้ไผ่สอดในกองปุ๋ย               ภาพที่ 5.2 การใช้ลูกหมุน

                    ที่มา: http:// www.baanjomyut.com/library-3/
                                                                    ที่มา: http:// www.muangklangnews.
                    extension- 5/agricultural-knowledge/ 12 html.
                               .                                    Biogspot.com/2011/06.











                                      ภาพที่ 5.3 การเติมอากาศแบบธรรมชาติ (passive aeration)

                                                            ที่มา: ธีระพงษ์ (2555)















                                        ภาพที่ 5.4 การเติมอากาศด้วยแรง (force aeration)
                                                              ที่มา: ธีระพงษ์ (2549)


                        3.5 อุณหภูมิ
                            อุณหภูมิเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์ในกองปุ๋ยหมัก  Day and Shaw (2001)

                  จ่าแนกจุลินทรีย์ตามช่วงอุณหภูมิที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) จุลินทรีย์ประเภทชอบอุณหภูมิ
                  ต่่า (psychrophile)  สามารถเจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 0 – 25 องศาเซลเซียส  2) จุลินทรีย์ประเภทชอบ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95