Page 87 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 87

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         76


                  มิได้ก่อผลเสียหายแก่พืช  เพียงแต่คุณสมบัติในการเป็นสารปรับปรุงดินอาจด้อยคุณภาพลงไปบ้างเท่านั้น

                  เนื่องจากการแปรสภาพของสารอินทรีย์ไปเป็นสารฮิวมัสยังไม่ค่อยสมบูรณ์ (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน ,
                  2551; ยงยุทธและคณะ, 2551)


                  ตารางที่ 5.3 ผลการวิเคราะห์ทางเคมีของเศษวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายบางชนิด

                            เศษวัสดุ            N (%)        P (%)         K (%)        C (%)         C/N

                                                                                                      ratio
                      ต้นถั่วเขียว               2.18         0.28          2.00        47.19        22.45

                      ผักตบชวา                   1.68         0.26          4.05        41.48        24.69

                      ทะลายปาล์ม                 1.28         0.16          0.90        47.76        37.31
                      ต้นข้าวโพด                 1.29         0.25          0.79        48.98        40.31

                      ใบอ้อย                     1.07         0.26          1.28        48.87        45.67
                      เศษมันส่าปะหลัง            1.20         0.20          0.81        44.86        50.52

                      โรงงาน
                      ฟางข้าว                    0.87         0.14          1.05        44.00        50.57

                      เศษสับปะรดโรงงาน           0.95         0.16          1.16        48.34        55.37

                  ที่มา: ปรับปรุงมาจากส่านักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร (2548ข) และพิทยากรและคณะ (2541)


                  ตารางที่ 5.4 ผลการวิเคราะห์ทางเคมีของเศษวัสดุที่ย่อยสลายได้ยากบางชนิด

                            เศษวัสดุ            N (%)        P (%)         K (%)        C (%)         C/N

                                                                                                      ratio
                      เปลือกยูคาลิปตัส           0.57         0.10          0.62        44.94        78.84

                      กากอ้อย                    0.31         0.13          0.44        53.54        179.68

                      ซังข้าวโพด                 0.43         0.13          0.59        49.38        114.83
                      ขี้เลื่อย                  0.30         0.09          0.36        56.30        209.64

                      ขุยมะพร้าว                 0.35         0.05          0.58        48.21        140.22

                      แกลบ                       0.35         0.08          1.52        53.30        158.36

                  ที่มา: ปรับปรุงมาจากส่านักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร (2548ข) และพิทยากรและคณะ (2541)

                        3.3 ความชื้น

                            ความชื้นเป็นค่าที่บ่งบอกถึงปริมาณน้่าในกองปุ๋ยหมัก  น้่าเป็นตัวท่าละลายสารอาหารต่างๆ  และ

                  มีความจ่าเป็นต่อการด่ารงชีวิตและการเจริญของจุลินทรีย์  เนื่องจากปฏิกิริยาในระบบ metabolism ต่างๆที่
                  เกิดขึ้นภายในเซลล์  และการปลดปล่อย extracellular enzyme ออกมาภายนอกเซลล์จุลินทรีย์  เพื่อย่อย

                  สารโมเลกุลใหญ่  ระดับความชื้นที่เหมาะสมในกองปุ๋ยหมักต่อการย่อยสลายประมาณ 50 – 60 เปอร์เซ็นต์
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92