Page 77 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         66


                  ตารางที่ 4.9 แสดงถึงอิทธิพลของปุ๋ยคอกต่อสมบัติทางกายภาพของดิน


                    เดือนที่เก็บ  ปุ๋ยคอก   ความจุความชื้นในสนาม   จุดเหี่ยวถาวร   ความจุความชื้นที่เป็นประโยชน์

                     ข้อมูล                       (%)                 (%)                   (%).

                   มีนาคม         ใส่             17.4                6.0                    11.4

                                 ไม่ใส่           14.6                5.3                    9.3

                   มิถุนายน       ใส่             15.1                7.0                    8.1

                                 ไม่ใส่           13.1                5.7                    7.4
                   สิงหาคม        ใส่             14.3                6.5                    7.8

                                 ไม่ใส่           12.6                5.4                    7.2
                   กันยายน        ใส่             15.6                6.8                    8.8

                                 ไม่ใส่           13.9                5.9                    8.0
                   ธันวาคม        ใส่             16.2                7.5                    8.7

                                 ไม่ใส่           14.1                6.3                    7.8


                  ที่มา: Salter et al., (1967)

                  ตารางที่ 4.10 ผลของการใช้ปุ๋ยคอกอัตรา 1600 กก./ไร่/ปี เป็นเวลา 5 ปี ต่อสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน


                          สมบัติของดิน                    ใช้ปุ๋ย NPK                    ใช้ปุ๋ยคอก


                  ความหนาแน่นรวม (ก./ลบ.ซม.)                 1.37                          1.22

                  ความพรุน (%)                               48.3                          54.0

                  การถ่ายเทอากาศ (ซม./วินาที)                0.27                          0.41
                  การเกิดเม็ดดิน (%)                         33.6                          45.6


                  ที่มา: Jug and Yang (2000)
                            การเพิ่มอินทรียวัตถุในดินโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์  ท่าให้ความชื้นที่เป็นประโยชน์ในดินเพิ่มขึ้น  ซึ่ง

                  เป็นผลของอินทรียวัตถุทั้งทางตรงและทางอ้อมดังนี้  ผลทางตรงเกิดจากสมบัติของอินทรียวัตถุที่มีความจุ

                  ความชื้นสูงและให้ความชื้นที่เป็นประโยชน์สูงด้วย  จากการเปรียบเทียบดินร่วนปนทรายแป้งสองตัวอย่าง  ซึ่ง
                  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่างกัน คือ ตัวอย่างที่หนึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุ 1เปอร์เซ็นต์ และตัวอย่างที่สองมี

                  ปริมาณอินทรียวัตถุ 3เปอร์เซ็นต์  เมื่อท่าให้ดินทั้งสองมีความชื้นที่ความจุความชื้นสนามเหมือนกัน พบว่า ดิน
                  ตัวอย่างที่หนึ่งและตัวอย่างที่สองจะมีปริมาณน้่า 0.22 และ 0.32 ลูกบาศก์เมตรต่อดิน 1 ลูกบาศก์เมตร  แต่

                  ปริมาณน้่าที่จุดเหี่ยวถาวร 0.10 และ 0.12 ลูกบาศก์เมตรต่อดิน 1 ลูกบาศก์เมตร ตามล่าดับ  เมื่อค่านวณ
                  ความชื้นที่เป็นประโยชน์ของดินที่มีอินทรียวัตถุต่่าจะได้ 0.12 ลูกบาศก์เมตรต่อดิน 1 ลูกบาศก์เมตร  ส่วนดิน

                  ที่มีอินทรียวัตถุสูงได้ 0.20 ลูกบาศก์เมตรต่อดิน 1 ลูกบาศก์เมตร และผลทางอ้อมเกิดจากอิทธิพลของ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82