Page 71 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         60


                  เนื่องจากเป็นดินทรายและธาตุโพแทสเซียมค่อนข้างต่่า (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน,  2551)  ได้มีการ

                  พัฒนาการหมักเฉพาะมูลสัตว์สดแบบต่อเนื่องของ Matsuzaki (1977)  โดยมีวิธีการดังนี้
                         1) ลดความชื้นมูลสัตว์ให้เหลือเพียง 55 – 65 เปอร์เซ็นต์  โดยการผึ่งแดดหรือใช้พลังงานในรูปอื่น

                  โดยปกติมูลสัตว์สดจะมีความชื้นประมาณร้อยละ 80

                         2) เมื่อลดความชื้นลงตามที่ต้องการแล้วจัดให้เป็นกองและกลับกองมูลสัตว์ทุกๆ 3- 4 วัน  การกอง
                  และกลับกองมูลสัตว์เป็นครั้งคราวเช่นนี้  จะเร่งกิจกรรมของจุลินทรีย์ให้สูงขึ้น  โดยกองปุ๋ยจะร้อนขึ้นส่วน

                  ความชื้นลดลงไปเองจนเหลือเพียง 40- 50 เปอร์เซ็นต์ ภายในเวลาเพียง 15 วัน  ผลที่ได้จากการหมักในขั้นนี้
                  เรียกว่า เชื้อปุ๋ยหมัก (seed compost)  การปฏิบัติในข้อ 1. และ 2. ถือได้ว่าเป็นชั้นเตรียมการเท่านั้น

                         3) น่าอุจจาระสัตว์สดๆ มาผสมกับเชื้อปุ๋ยหมัก  โดยให้มีความชื้นไม่เกิน 55 – 65 เปอร์เซ็นต์ และ
                  คลุกให้เข้ากันดีแล้วก็ท่าเป็นกอง  ปล่อยให้สลายตัวต่อไปประมาณ 15 วัน  ก็แบ่งปุ๋ยที่ได้ส่วนหนึ่งไปใส่ไร่นา

                  ส่วนที่เหลือก็ใช้เป็นเชื้อปุ๋ยหมักส่าหรับการหมักครั้งต่อไป

                         จากค่าอธิบายข้างต้นจะเห็นได้ว่า การลดความชื้นของมูลสัตว์สดนั้นท่าเพียงครั้ง คือ ก่อนเริ่มต้น
                  เท่านั้น  เมื่อได้เชื้อปุ๋ยหมักแล้วก็สามารถหมุนเวียนใช้ได้ตลอดไป  ระบบการหมักมูลสัตว์นี้ช่วยให้ได้ปุ๋ยคอกที่
                  มีคุณภาพดีภายในเวลาเพียง 15 วัน  โดยไม่มีความยุ่งยากในการปฏิบัติ  แสดงไว้ในภาพที่ 4.2


                                                           คอกสัตว์


                    มูลสัตว์มีความชื้น                                             ปัสสาวะและน้่าล้างคอก

                 ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์
                              ลดความชื้น

                          มูลสัตว์มีความชื้น                                      ก่าจัดของเสียแล้วปล่อยทิ้ง
                     ประมาณ 55 - 65 เปอร์เซ็นต์


                                                        ปุ๋ยคอกมีความชื้น                 แบ่งมาใช้เป็นปุ๋ย


                                  หมัก 15 วัน       ประมาณ 40 - 50 เปอร์เซ็นต์           (ปุ๋ยคอกที่หมักแล้ว
                                                                                                )

                                                          แบ่งมาใช้เป็นเชื้อปุ๋ยหมัก
                 มูลสัตว์สดผสมเชื้อปุ๋ยหมักมีความชื้น
                    ประมาณ 55 - 65 เปอร์เซ็นต์


                                                             ปุ๋ยคอกมีความชื้น                 แบ่งมาใช้เป็นปุ๋ย

                                หมัก 15 วัน              ประมาณ 40 - 50 เปอร์เซ็นต์      (ปุ๋ยคอกที่หมักแล้ว)


                                            ภาพที่ 4.2 วิธีการหมักมูลสัตว์แบบต่อเนื่อง

                                                       ที่มา: Matsuzaki (1977)
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76