Page 68 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         57


                                                 [(Total N) waste  – (NH -N+NO -N)  waste ]
                                                                   4
                                                                          3
                         เมื่อ (NH -N)  และ(NO -N)  คือ ปริมาณของธาตุNH -N และ NO -N ในดินที่ใส่ปุ๋ยคอก
                                                 trt
                                                                                 3
                                     trt
                                             3
                                                                      4
                                 4
                         (NH -N)  และ  (NO -N)  คือ ปริมาณของธาตุNH -N  และ NO -N ในดินที่ไม่ใส่ปุ๋ยคอกเมื่อเริ่ม
                                                                                 3
                                 ck
                                                                      4
                             4
                                           3
                                                ck
                  ทดลอง
                         (Total  N)   waste   ,  (NH -N)   waste  และ (NO -N)   waste  คือ ปริมาณของธาตุไนโตรเจนทั้งหมด และ
                                              4
                                                               3
                  ปริมาณของธาตุNH -N  และ NO -N ของปุ๋ยคอกก่อนเริ่มทดลอง (ยงยุทธและคณะ, 2551)
                                             3
                                  4
                         ส่าหรับสมบัติของปุ๋ยคอกที่มีสหสัมพันธ์เชิงบวกกับอัตรามินเนอราลไลเซซันสุทธิและอัตราการ
                  เปลี่ยนแปลงแอมโมเนียมเป็นไนเตรท หรือที่เรียกว่า “ไนตริฟิเคชัน” คือ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด  อินทรีย์
                  ไนโตรเจน และแอมโมเนียมไนโตรเจนที่สกัดได้  ซึ่งหมายความว่าหากค่าวิเคราะห์ทั้งสามค่านี้สูง  ปุ๋ยคอกจะ
                  ปลดปล่อยแอมโมเนียมได้ง่าย  ส่วนสมบัติของปุ๋ยคอกที่มีสหสัมพันธ์เชิงลบกับสองกระบวนการดังกล่าวคือ
                  ปริมาณเส้นใย  อัตราส่วนระหว่างปริมาณคาร์บอนทั้งหมดต่อไนโตรเจนทั้งหมด  อัตราส่วนระหว่างปริมาณ
                  คาร์บอนทั้งหมดต่ออินทรีย์ไนโตรเจน  อัตราส่วนระหว่างปริมาณคาร์บอนทั้งหมดต่อแอมโมเนียมไนโตรเจนที่
                  สกัดได้  และอัตราส่วนระหว่างปริมาณเส้นใยต่อไนโตรเจนทั้งหมด หรืออินทรีย์ไนโตรเจน หรือแอมโมเนียม

                  ไนโตรเจนที่สกัดได้ (Castellanos and Pralt, 1981)  ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาอัตรามินเนอราลไลเซซัน
                  สุทธิของปุ๋ยคอกของ Griffin et al. (2005 ) พบว่า ปุ๋ยคอกล่าดับที่ 8 จะมีมินเนอราลไรเซซันสุทธิต่่ากว่าปุ๋ย

                  คอกล่าดับที่ 2  หรือมีการปลดปล่อยแอมโมเนียมได้ยากและน้อยกว่าในดินร่วนปนทรายนั้น  เพราะว่าปุ๋ย
                  คอกล่าดับที่ 8 มีไนโตรเจนทั้งหมด  อินทรีย์ไนโตรเจนและแอมโมเนียมไนโตรเจนที่สกัดได้ต่่ากว่าปุ๋ยคอก

                  ล่าดับที่ 2  และมีอินทรียวัตถุ  คาร์บอนทั้งหมด และเส้นใยสูงกว่าปุ๋ยคอกล่าดับที่ 2  ดังตารางที่ 4.6

                  ตารางที่ 4.6 องค์ประกอบทางเคมีบางประการของปุ๋ยคอกจากฟาร์มโคนม 9 แห่ง

                                                           ก./กก. น้ําหนักแห้ง
                   ฟาร์มที่
                            ไนโตรเจน    อินทรีย์      แอมโมเนียม       อินทรียวัตถุ   คาร์บอน      เส้นใย

                             ทั้งหมด  ไนโตรเจน  ไนโตรเจนที่สกัดได้                    ทั้งหมด

                     1        27.1       17.1            10.1             742          393          411
                     2        62.8       40.0            22.8             719          415          162
                     3        34.2       20.8            13.4             864          458          504

                     4        39.9       26.2            13.7             767          418          391
                     5        21.9       16.0             5.9             855          449          622
                     6        23.9       21.2             2.7             724          385          420
                     7        27.2       17.9             9.3             811          430          561

                     8        13.9       12.1             1.8             869          451          617
                     9        24.5       18.9             5.6             849          443          560


                  ที่มา: Griffin et al. (2005 )

                         นอกจากนี้การปลดปล่อยไนโตรเจนจากปุ๋ยมูลวัว  มูลไก่ และปุ๋ยหมักออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืช

                  อาจจะวัดจากค่า C:N เรโชของปุ๋ยอินทรีย์เหล่านั้นได้  ซึ่งมีรายงายจากนักวิจัยหลายท่าน พบว่า ปริมาณ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73