Page 65 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         54


                  ปริมาณฟอสฟอรัสแตกต่างกัน ดังนี้ 1) มูลค้างคาวที่พบในจังหวัดพังงาและกระบี่ มีฟอสฟอรัสทั้งหมด 2.95 –

                  11.89 เปอร์เซ็นต์P O   โดย 28.47 – 94.73 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด คือ ฟอสเฟตที่เป็นประโยชน์  และ 2)
                                  2 5
                  หินฟอสเฟตที่เกิดจากมูลค้างคาว  ซึ่งพบในจังหวัดพังงา กระบี่และเลย มีฟอสเฟตทั้งหมด 19.28 – 24.23

                  เปอร์เซ็นต์P O   โดย 39.82 – 93.12 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด คือ ฟอสเฟตที่เป็นประโยชน์  เนื่องจากมีปัจจัย
                            2 5
                  หลายประการที่มีผลท่าให้ปริมาณของธาตุอาหารในมูลค้างคาวจากแต่ละแหล่งและแต่ละคราวที่เก็บออกมามี
                  ความแตกต่างกันมาก  จึงอาจไม่ตรงกับข้อมูลในตารางที่ 4.3  หากต้องการทราบปริมาณธาตุอาหารธาตุ

                  อาหารที่แท้จริงของปุ๋ยที่ได้มาในคราวนั้น  จ่าเป็นต้องส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการ

                  ตารางที่ 4.3 ปริมาณธาตุอาหารมูลค้างคาว


                           ธาตุ                 ปริมาณ                   ธาตุ                 ปริมาณ


                  ไนโตรเจน (%N)                2.0 – 6.0           เหล็ก (%Fe O )            0.2 – 4.0
                                                                             2 5
                  ฟอสฟอรัส (%P O )             1.5 – 10.0         แมงกานีส (%MnO)            0.1 –  0.2
                               2 5
                  โพแทสเซียม (%K2O)            1.0 –  3.0          ทองแดง (%CuO)            0.05 –  0.1
                  แมกนีเซียม (%MgO)            1.5 –  2.0          สังกะสี (%ZnO)           0.05 –  0.1

                  แคลเซียม (%CaO)              3.5 –  9.0


                  ที่มา: ยงยุทธและคณะ (2551)

                         3.2  ขนาดของสัตว์  มีผลต่อปริมาณมูลสัตว์ที่ขับถ่ายและปริมาณธาตุอาหาร เช่น ปริมาณมูลโคที่

                  ขับถ่ายขึ้นอยู่กับน้่าหนักตัว  เพราะเกี่ยวข้องกับการกินอาหารและการน่าธาตุอาหารไปใช้  ส่าหรับน้่าหนักมูล

                  โคที่ขับถ่ายแต่ละวันตลอดจนปริมาณของธาตุอาหารหลักในมูลโค  แสดงไว้ในตารางที่ 4.4

                  ตารางที่ 4.4 ปริมาณมูลโคที่ขับถ่ายแต่ละวันและปริมาณธาตุหลักในมูลโค

                   น.น.สัตว์     มูล           ไนโตรเจน               ฟอสฟอรัส              โพแทสเซียม

                    (กก.)     (กก./วัน)  ก./วันกก./ปี           ก./วันกก./วัน          ก./วันกก./วัน

                     227        13.6        54.5       19.9        25.5        9.3       54.5        19.9
                     318        20.4       118.2       43.1        36.8       13.4       86.4        31.5

                     454        27.3       154.5       56.4        50.0       18.2       109.1       39.8

                     568        34.1       195.5       71.3        63.6       23.2       140.9       51.4


                  ที่มา: Neumann (1977)

                         3.3 สภาพของการเลี้ยง เช่น มูลไก่ไข่ซึ่งเลี้ยงในกรงตับจะไม่มีวัสดุรองพื้นปน  ส่วนมูลไก่กระทงซึ่ง

                  เลี้ยงรวมกันบนพื้นคอก  ซึ่งอาจเป็นพื้นดินหรือพื้นคอนกรีต  โดยมีวัสดุรองพื้นคอก เช่น แกลบ ขี้เลื่อยและ
                  วัสดุอื่นเพื่อให้ดูดความชื้นจากน้่าที่ใช้เลี้ยงและสิ่งขับถ่าย  เมื่อวัสดุรองพื้นหมดอายุการใช้ก็กวาดออกมาแล้ว

                  น่าไปเป็นวัสดุบ่ารุงดิน  ส่าหรับปริมาณมูลสดของไก่กระทงและไก่ไข่ที่ขับถ่ายแต่ละวันมีประมาณ 87
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70