Page 143 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 143

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        132


                  7. การผลิตน้ําหมัก (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, 2551)

                         7.1 วัสดุที่ใช้ในการผลิตน้ําหมักมี 2 ประเภท โดยมีส่วนผสม ดังนี้ คือ

                               1) น้ําหมักจากผักและผลไม้ จ่านวน 50 ลิตร  (ใช้เวลาการหมัก 7 วัน)
                              ผักหรือผลไม้                            40  กิโลกรัม

                              กากน้่าตาล                              10  กิโลกรัม
                              น้่า                                    10  ลิตร

                              สารเร่งซุปเปอร์ พด.2                      1  ซอง (25 กรัม)

                               2) น้ําหมักจากปลาหรือหอยเชอรี่  จ่านวน 50 ลิตร  (ใช้เวลาการหมัก 15 – 20 วัน)
                              ปลาหรือหอยเชอรี่                        30  กิโลกรัม

                              ผลไม้                                   10  กิโลกรัม
                              กากน้่าตาล                              10  กิโลกรัม

                              น้่า                                    10  ลิตร

                              สารเร่งซุปเปอร์ พด.2                      1  ซอง (25 กรัม)
                         7.2 วิธีการผลิตน้ําหมัก

                             1) เทกากน้่าตาลตามอัตราส่วนลงในถังหมักใส่น้่าจ่านวน 5 ลิตร และคน  เพื่อละลาย
                  กากน้่าตาลกับน้่าเป็นเนื้อเดียวกัน

                             2) เทสารเร่งซุปเปอร์ พด.2  ในน้่า 5 ลิตร หรือใส่ถังหมัก คนประมาณ 5 นาที  เพื่อกระตุ้นการ

                  เจริญเติบโตของจุลินทรีย์
                             3) หั่นหรือสับวัสดุพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ  และใส่ลงในถังหมักขนาดที่เหมาะสมกับวัสดุ

                  พร้อมใส่สารเร่ง พด. ที่เตรียมไว้  และปรับปริมาตรน้่าให้พอเหมาะหรือท่วมวัสดุหมัก  เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อ
                  รา เช่น ราด่า  ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจและเว้นช่องว่างระหว่างวัสดุหมักกับปากถังหมัก

                  ประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร  เพื่อป้องกันของเหลวในถังหมักล้นออกมาระหว่างการหมัก

                             4) คนส่วนประกอบต่างๆ ให้เข้ากันอีกครั้ง  แล้วปิดฝาไม่ต้องสนิท  เพื่อให้มีการระบายก๊าซ
                  คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก  เก็บได้ในที่ร่มที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก

                             5) ในระหว่างการหมัก  คนหรือกวน 1 – 2 ครั้งต่อวัน  เพื่อระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และท่าให้
                  ส่วนผสมคลุกเคล้าได้ดียิ่งขึ้น

                  8. การผลิตน้ําหมักโดยวิธีการต่อเชื้อ


                         การผลิตน้่าหมักโดยไม่ใช้สารเร่งจุลินทรีย์ ท่าได้โดยน่า
                    น้่าหมักที่มีอายุหมัก 5– 7 วัน  ซึ่งจะสังเกตเห็นฝ้  าสีขาวที่

                    ผิวหน้าวัสดุหมัก ดังภาพที่ 7.1  โดยใช้จ่านวน 2 ลิ  ตร แทน


                    การใช้สารเร่งจุลินทรีย์จ่านวน 1 ซอง  จะสามารถผลิตน้่าหมัก
                    ได้จ่านวน 50 ลิตร

                                                                     ภาพที่ 7.1 ลักษณะน้ําหมักที่หมักได้ 5 – 7 วัน

                                                                     ที่มา: ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (2551)
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148