Page 146 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 146

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        135


                  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นเป็น 6.02 และ 51.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล่าดับ และความชื้นของดิน

                  เพิ่มขึ้นเป็น 9.89 เปอร์เซ็นต์  เนื่องปุ๋ยหมักท่าให้ธาตุอาหารในดินปลดปล่อยออกมาได้มากขึ้นและอีกส่วน
                  หนึ่งได้จากปุ๋ยหมักเอง  นอกจากนี้ปุ๋ยหมักยังช่วยดูดซับน้่าในดิน  เนื่องจากปุ๋ยหมักมีลักษณะเป็นสาร

                  คอลลอยด์ที่มีความสามารถในการดูดซับความชื้นได้ดี  เมื่อพิจารณาผลการใส่น้่าหมักชนิดต่างๆร่วมกับปุ๋ย

                  หมัก พบว่า ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นและมากกว่าการใส่ปุ๋ยหมักอย่างเดียว  โดยเพิ่ม
                  จาก 6.02 และ 51.60 เป็นระหว่าง 7.71 – 8.25 และ 68.20 – 72.60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล่าดับ และ

                  ความชื้นในดินเพิ่มขึ้นจาก9.89 เป็นระหว่าง 11.72 – 11.98 เปอร์เซ็นต์ ตามล่าดับ  ดังตารางที่ 7.11

                  ตารางที่ 7.10 ปริมาณธาตุอาหารและความชื้นในดินชุดจันทึก  ก่อนการทดลอง

                          ตํารับการทดลอง               ธาตุอาหาร (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)      ความชื้นในดิน

                                                     ฟอสฟอรัส            โพแทสเซียม           (เปอร์เซ็นต์)


                  1. ไม่ใส่น้่าหมัก                     5.04                48.70                5.28
                  2. ใส่น้่าหมักจากปลา                  5.03                49.90                8.17

                  3.ใส่น้่าหมักจากผัก                   5.12                47.60                8.29
                  4. ใส่น้่าหมักจากผลไม้                5.15                48.20                8.19

                  5. ใส่น้่าหมักจากหอยเชอรี่            5.09                49.30                8.28

                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2544)


                  ตารางที่ 7.11 ปริมาณธาตุอาหารและความชื้นในดินชุดจันทึก  หลังจากใส่ 21 วัน

                          ตํารับการทดลอง               ธาตุอาหาร (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)      ความชื้นในดิน

                                                     ฟอสฟอรัส            โพแทสเซียม           (เปอร์เซ็นต์)

                  1. ไม่ใส่น้่าหมัก                     6.02                51.60                9.89

                  2. ใส่น้่าหมักจากปลา                  8.25                69.80                11.98
                  3.ใส่น้่าหมักจากผัก                   7.29                70.10                11.72

                  4. ใส่น้่าหมักจากผลไม้                7.71                68.20                11.83
                  5. ใส่น้่าหมักจากหอยเชอรี่            8.03                72.60                11.95


                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2544)

                        10.3 การเจริญเติบโตของพืช

                            1) ด้านการส่งเสริมอัตราการเจริญเติบโตของพืช
                               เนื่องจากในน้่าหมักมีส่วนประกอบของฮอร์โมน  กรดอินทรีย์ และจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์

                  โดยเฉพาะฮอร์โมน ได้แก่ ฮอร์โมนออกซิน มีหน้าที่ในการช่วยให้เซลล์ของพืชขยายตัวได้มากขึ้น  ท่าให้ล่าต้น

                  ขยายตัวใหญ่ขึ้น  ส่วนฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน มีหน้าที่ในการยืดตัวของล่าต้น  จึงมีผลท่าให้ความสูงของพืช
                  เพิ่มขึ้น  นอกจากนี้ยังมีกรดฮิวมิกที่มีสมบัติคล้ายฮอร์โมนออกซิน  ซึ่งมีความส่าคัญในการเร่งอัตราการ
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151