Page 141 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        130


                         4.2 กากน้ําตาล

                             การใส่กากน้่าตาลในการหมักวัสดุลักษณะสด  เพื่อเป็นแหล่งอาหารให้กับจุลินทรีย์ใน
                  กระบวนการหมักเพื่อผลิตน้่าหมัก  โดยกากน้่าตาลได้มาจากโรงงานอุตสาหกรรมน้่าตาล  ซึ่งมีองค์ประกอบ

                  ทางเคมีประกอบด้วย น้่า  ซูโครส  รีดิวชิงซูการ์ และน้่าตาลที่ใช้หมักเชื้อ ดังนี้ 20.65, 36.60, 13.00 และ

                  50.10 เปอร์เซ็นต์ ตามล่าดับ  นอกจากนี้มีธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียมและ
                  ซิลิกา ดังนี้ 0.95, 0.12, 4.19, 1.35, 1.12 และ 0.48 เปอร์เซ็นต์ ตามล่าดับ  รวมถึงมียาง แป้งและขี้ผึ้ง 3.43

                  และ 0.38 เปอร์เซ็นต์  นอกจากนี้สามารถใช้น้่าตาลทรายแดง  น้่าตาลทรายขาว  น้่าอ้อยสด  น้่าตาลสด  ฝัก
                  จามจุรี และผลไม้ที่ให้ความหวานมากๆ เช่น ล่าไย เงาะ แทนกากน้่าตาลได้ (กลุ่มอินทรียวัตถุและวัสดุเหลือ

                  ใช้, 2545)

                         4.3 ชนิดจุลินทรีย์  ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตน้่าหมัก โดยทางกรมพัฒนาที่ดินได้ผลิต “สาร

                  เร่งซุปเปอร์ พด.2”  ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เพิ่มประสิทธิภาพการย่อย
                                         โปรตีน ไขมัน  ช่วยลดกลิ่นเหม็นระหว่างการหมักเพิ่มการละลายธาตุอาหาร

                                         ในการหมักเปลือกไข่ก้างปลาและกระดูกสัตว์  เพื่อผลิตน้่าหมักในเวลาสั้นและ

                                         ได้คุณภาพ  ที่มีทั้งฮอร์โมน  กรดอะมิโน  กรดฮิวมิค  กรดอินทรีย์ และธาตุ
                                         อาหารบางชนิดเพิ่มขึ้น  ประกอบด้วยจุลินทรีย์ 5 สายพันธุ์ ได้แก่ ยีสต์ผลิต

                                         แอลกอฮอล์และกรดอินทรีย์  แบคทีเรียผลิตกรดแลคติค  แบคทีเรียย่อยสลาย
                                         โปรตีน  แบคทีเรียย่อยสลายไขมันและแบคทีเรียละลายอนินทรีย์ฟอสฟอรัส

                                         (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, 2551)

                  5. กระบวนการผลิตน้ําหมัก

                         น้่าหมักเกิดจากการการหมักแบบไร้อากาศโดยมี 2 กระบวนการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ (ราเชนทร์และศิริ

                  ธรรม, 2551)

                         3.1 กระบวนการพลาสมอลิซีสหรือการสกัด (plasmolysis) เป็นกระบวนการดึงน้่าออกจาก
                  เนื้อเยื่อพืชหรือสัตว์ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ  โดยอาศัยความเข้มข้นของน้่าตาลหรือกากน้่าตาลเข้าไปแทนที่น้่าที่อยู่ใน

                  เนื้อเยื่อพืชหรือสัตว์ ท่าให้ได้น้่าที่มีสารอาหารพืชต่างๆ ละลายออกมา
                         3.2 กระบวนการย่อยสลาย (decomposition) เป็นขั้นตอนที่จุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายเนื้อเยื่อพืช

                  หรือสัตว์ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ  โดยจุลินทรีย์จะใช้น้่าตาลเป็นแหล่งอาหารในการเจริญเติบโตและเพิ่มจ่านวนมาก
                  ขึ้น  แล้วจึงสร้างกรดและน้่าย่อย (เอนไซม์) มาใช้ในการย่อยสลาย  ท่าให้สารอินทรีย์ต่างๆ ถูกย่อยมากขึ้น

                  ซึ่งอาจมีการสร้างสารอินทรีย์บางชนิดขึ้นมาใหม่โดยจุลินทรีย์  ท่าให้เกิดการปลดปล่อยธาตุอาหารออกมา

                  6. ปัจจัยบางประการที่เกี่ยวข้องกับการย่อยสลายในกระบวนการหมัก

                         ระยะเวลาการหมักวัสดุเหลือใช้ลักษณะสดในสภาพที่เป็นของเหลวนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยของ

                  สภาพแวดล้อมและปัจจัยของวัสดุลักษณะสดที่ใช้ในการหมักด้วย ดังนั้นปัจจัยบางประการจะบ่งบอกถึง
                  ประสิทธิภาพอัตราการย่อยสลายวัสดุหมักลักษณะสด มีดังนี้ (กลุ่มอินทรียวัตถุและวัสดุเหลือใช้, 2545)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146