Page 148 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 148

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        137


                  ตารางที่ 7.13 ผลของน้ําหมักต่ออัตราการงอกของเมล็ดพืช ในชุดดินจันทึก

                          ตํารับการทดลอง                          เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพืช

                                                           ข้าวโพดหวาน                     กวางตุ้ง

                  1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมักและน้่าหมัก                 66.67                        76.70


                  2. ใส่ปุ๋ยหมัก                               77.67                        86.70

                  3. ใส่ปุ๋ยหมัก + น้่าหมักจากปลา             100.00                        93.30


                  4.ใส่ปุ๋ยหมัก + น้่าหมักจากผัก               89.00                        93.30

                  5. ใส่ปุ๋ยหมัก + น้่าหมักจากผลไม้            89.00                        90.60

                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2544)


                  11. การใช้น้ําหมักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                           จากที่กล่าวมาข้างต้นเกี่ยวกับน้่าหมัก พบว่า มีปริมาณธาตุอาหารต่่ามาก แต่มีสารที่ช่วยกระตุ้นการ
                  เจริญเติบโตของพืช เช่น กรดฮิวมิก ฮอร์โมน เอนไซม์  การใช้น้่าหมักมี 2 วิธี คือ ราดลงดินและฉีดพ่นกับพืช

                  โดยต้องมีการเจือจางก่อนน่าไปใช้  ดังนั้น การใช้น้่าหมักจ่าเป็นต้องมีการจัดการปรับปรุงบ่ารุงดินด้วยปุ๋ย
                  อินทรีย์ชนิดต่างๆ ก่อน  เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน  โดยเฉพาะการปรับปรุงทางกายภาพของดิน

                  นอกจากนี้ยังจ่าเป็นจะต้องมีแหล่งธาตุอาหารหลักและรองให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช  เนื่องจากน้่า

                  หมักมีปริมาณของธาตุอาหารต่่า  แต่มีฮอร์โมนและกรดอินทรีย์หลายชนิด  ซึ่งช่วยเร่งการเจริญเติบโตของราก
                  พืช  การขยายตัวของใบรวมถึงการยืดตัวของล่าต้น  ชักน่าให้เกิดการงอกของเมล็ด  และส่งเสริมการออกดอก

                  และติดผลดีขึ้น  โดยการใช้น้่าหมักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีหลัก 3 ประการที่ต้องยึดถือ คือ
                         1.  ความพอประมาณ  หมายถึง ควรมีการผลิตน้่าหมักให้เพียงพอกับความต้องการใช้  โดยสามารถ

                  ผลิตได้ตามค่าแนะน่าของหน่วยงานราชการ หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน  การผลิตน้่าหมักควรให้ตรงกับ

                  วัตถุประสงค์ที่น่าไปใช้ เช่น ถ้าต้องการน้่าหมักที่มีปริมาณกรดฮิวมิกและฮอร์โมนมาก  ควรผลิตน้่าหมักจากไข่
                  ไก่ นมและถั่ว (ออมทรัพย์และคณะ, 2547)  เมื่อน่าน้่าหมักจากไข่ไก่ นมและถั่ว จะมีผลท่าให้พืชเจริญเติบโต

                  และให้ผลผลิตดีที่สุด  ในกรณีไม่มีกากน้่าตาลสามารถใช้อ้อยหรือพืชชนิดอื่นๆ ที่ให้ความหวานทดแทนได้
                  โดยเกษตรกรสามารถปลูกเองได้ หรือหามาจากท้องถิ่นท่าให้ประหยัดค่าใช้จ่าย  ซึ่งเกษตรกรควรเตรียมวัสดุ

                  ในพื้นที่ของตนเองส่าหรับผลิตน้่าหมักต้องมีลักษณะสด เช่น เศษผัก ผลไม้ ปลา หอยเชอรี่ ไข่ไก่และเศษนม

                  เป็นต้น  เพื่อส่าหรับผลิตน้่าหมักให้มีปริมาณเพียงพอกับการน่าไปใช้และให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกร
                  เอง  โดยการใช้น้่าหมักควรใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่นๆ  เพราะปุ๋ยอินทรีย์จะช่วยเพิ่มธาตุอาหารแก่พืชและ

                  ท่าให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น  โดยปริมาณและวิธีการใช้น้่าหมักสามารถท่าตามค่าแนะน่าของส่านัก
                  เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (2551)  ดังตารางที่ 7.14  นอกจากนี้กากวัสดุที่เหลือจากการท่าน้่าหมักสามารถ

                  น่าไปใส่กองปุ๋ยหมักก่อน  และทิ้งไว้เพื่อให้กากของวัสดุที่เหลือจากการท่าน้่าหมักย่อยสลายสมบูรณ์ก่อนจึงจะ

                  น่ามาใส่ลงดินต่อไป (ส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน ,2551)
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153