Page 145 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 145

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        134


                  ตารางที่ 7.8 ปริมาณจุลินทรีย์ในดินชุดจันทึกก่อนการทดลอง

                        ตํารับการทดลอง                       จุลินทรีย์ (log No ต่อกรัมของดิน)

                                                แบคทีเรีย     จุลินทรีย์ตรึง    จุลินทรีย์แปร     ยีสต์

                                                 ทั้งหมด     ไนโตรเจนอิสระ    สภาพฟอสฟอรัส

                   1. ไม่ใส่น้่าหมัก              5.03            1.84              2.01          2.84

                   2. ใส่น้่าหมักจากปลา           5.11            1.72              1.95          2.76
                   3.ใส่น้่าหมักจากผัก            5.07            1.90              1.85          2.90

                   4. ใส่น้่าหมักจากผลไม้         5.03            1.76              2.10          2.89

                   5. ใส่น้่าหมักจากหอยเชอรี่     5.13            1.92              2.06          2.89

                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2544)

                  ตารางที่ 7.9 ปริมาณจุลินทรีย์ในดินชุดจันทึกหลังจากใส่ 21 วัน


                        ตํารับการทดลอง                       จุลินทรีย์ (log No ต่อกรัมของดิน)
                                                แบคทีเรีย     จุลินทรีย์ตรึง    จุลินทรีย์แปร     ยีสต์

                                                 ทั้งหมด     ไนโตรเจนอิสระ    สภาพฟอสฟอรัส

                   1. ไม่ใส่น้่าหมัก              5.22            2.13              2.40          3.33

                   2. ใส่น้่าหมักจากปลา           5.95            2.43              4.15          4.45

                   3.ใส่น้่าหมักจากผัก            6.32            3.26              3.14          4.53
                   4. ใส่น้่าหมักจากผลไม้         6.18            4.19              3.12          3.89

                   5. ใส่น้่าหมักจากหอยเชอรี่     6.34            3.35              3.90          4.33

                  ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2544)


                        10.2 สมบัติทางเคมีและกายภาพของดิน
                             การใส่น้่าหมักลงในดิน  มีผลท่าให้ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพสมบัติทางเคมีและกายภาพของ

                  ดิน  เนื่องจากในน้่าหมักมีจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน ได้แก่ จุลินทรีย์แปรสภาพธาตุฟอสฟอรัสในดินให้อยู่
                  ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชมากขึ้น  และยีสต์ปลดปล่อยฮอร์โมนหรือวิตามิน  จึงท่าให้ดินมีธาตุอาหารเพิ่มขึ้น

                  นอกจากนี้ปุ๋ยอินทรีย์น้่าเป็นแหล่งสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตและกิจกรรมของจุลินทรีย์ใน
                  ดิน  จึงท่าให้จุลินทรีย์ในดินมีกิจกรรมและปริมาณเพิ่มขึ้น  ซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้ผลิตสารและเส้นใยท่าให้เกิด

                  เม็ดดินมากขึ้นเป็นการเพิ่มเสถียรภาพของเม็ดดิน  ท่าให้ดินเก็บความชื้นได้มากขึ้น  ซึ่งสอดคล้องกับรายงาน

                  รายงานกรมพัฒนาที่ดิน (2544) ว่า การไม่ใส่น้่าหมักและการใส่น้่าหมักชนิดต่างๆ (เจือจางน้่าหมัก 1 ส่วนต่อ
                  น้่า 500 ส่วน) ร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักอัตรา 4 ตันต่อไร่ ในดินชุดจันทึก เป็นเวลา 21 วัน พบว่า การไม่ใส่น้่า

                  หมัก  ใส่น้่าหมักจากปลา, ผัก, ผลไม้ และหอยเชอรี่  ก่อนการทดลองมีปริมาณธาตุอาหารและความชื้นของ

                  ดิน ดังตารางที่ 7.10  และหลังจากใส่เป็นเวลา 21 วัน พบว่า การใส่ปุ๋ยหมักอย่างเดียวท่าให้ปริมาณธาตุ
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150