Page 139 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 139

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        128


                  ตารางที่ 7.7 ปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในน้ําหมักชนิดต่างๆ

                                                                                -1
                     วัสดุที่ใช้หมัก                         จุลินทรีย์ (log No ml )
                                     แบคทีเรียทั้งหมด    แบคทีเรียแปร       ราแปรสภาพ             ยีสต์

                                                        สภาพฟอสฟอรัส         ฟอสฟอรัส

                         ผัก           3.60 – 4.17        1.05 – 1.28       1.04 – 1.45       3.17 – 3.96

                        ผลไม้          3.68 – 4.53        1.43 – 1.77       1.23 – 1.67       2.11 – 3.68
                         ปลา           3.35 – 3.68        3.02 – 3.51       2.11 – 2.42       2.15 – 3.76

                       หอยเชอรี่       4.26 – 4.33        3.28 – 3.47       2.40 – 2.74       3.26 – 3.56

                  ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2543)


                         จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นขององค์ประกอบของน้่าหมักแต่ละชนิด พบว่า มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่่า
                  มากและมีความแปรปรวนสูง  เนื่องจากใช้วัตถุดิบในการหมักที่แตกต่างกัน  โดยพบว่าน้่าหมักจากปลามี

                  ปริมาณธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส มากกว่าน้่าหมักชนิดอื่นๆ  เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะว่า เนื้อปลาจะ

                  ประกอบด้วยโปรตีน  ซึ่งในโปรตีนเป็นส่วนประกอบด้วยธาตุไนโตรเจน 16 เปอร์เซ็นต์และเป็นส่วนประกอบ
                  ส่าคัญของกรดอะมิโน  โดยจุลินทรีย์จะผลิตเอนไซม์โปรติเอสและท่าการย่อยสลายโปรตีนจากปลา  ท่าให้ได้

                  ปริมาณโปรตีนและธาตุไนโตรเจนออกมา  นอกจากนี้กระดูกหรือก้านปลาจะประกอบด้วยธาตุฟอสฟอรัส
                  รวมตัวกับธาตุแคลเซียมในรูป hydroxyapatite ((Ca (PO ) (OH) )  จุลินทรีย์จะผลิตเอนไซม์ฟอสฟาเทสท่า
                                                                  4 6
                                                              10
                                                                         2
                  หน้าที่ปลดปล่อยธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชจากก้านปลาออกมา  ถึงแม้น้่าหมักมีปริมาณธาตุ
                  อาหารพืชต่่ามาก  แต่ในน้่าหมักมีสิ่งอื่นๆ ที่ช่วยการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช เช่น กรดฮิวมิก  ฮอร์โมน

                  เอมไซม์ และจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ จะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นกับวัสดุและชนิดจุลินทรีย์ที่น่ามาหมัก

                  การน่าน้่าหมักไปใช้โดยการเจือจางประมาณ 500 – 1,000 เท่า แล้วฉีดพ่นทางใบ  พืชจะได้รับธาตุอาหาร
                  น้อยมากแต่อาจได้สารอื่นๆที่ช่วยการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชได้  จึงถือว่า น้่าหมักไม่เป็นแหล่งส่าคัญ

                  ของธาตุอาหารส่าหรับพืช  แต่เป็นสารอื่นๆ ที่ช่วยการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช  ดังนั้นการน่าน้่าหมักไป

                  ใช้จ่าเป็นจะต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับแต่ละช่วงการเจริญเติบโตว่าพืชต้องการน้่าหมักสูตรใด  ความเข้มข้นและ
                  ระยะเวลาการฉีดพ่นเท่าใด  โดยสังเกตอาการของพืชหลังใช้เพื่อปรับใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับพืช


                  3. บทบาทของจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตน้ําหมัก
                         กลุ่มจุลินทรีย์ส่าคัญที่เกี่ยวข้องในการด่าเนินกิจกรรมการย่อยสลายเพื่อผลิตน้่าหมัก มี 4 กลุ่ม ดังนี้

                  (กลุ่มอินทรียวัตถุและวัสดุเหลือใช้, 2545 และส่านักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน, 2551)

                         3.1 กลุ่มยีสต์ (Yeasts) ยีสต์มีรูปร่างกลมหรือรี  มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ  โดยการแตกหน่อ

                  (budding)  จัดอยู่ใน family Saccharomycetaceae  เมื่ออายุน้อยมีรูปร่างกลม  แต่เมื่ออายุมากจะมีขนาด

                  รูปร่างรียาว  ในกระบวนการหมักยีสต์จะมีการสร้าง ascospores แบบอาศัยเพศอยู่ใน asci ได้แก่ ยีสต์สกุล
                  Sacchoromyces sp. และ Candida sp.  และใช้น้่าตาลเป็นแหล่งอาหาร  ยีสต์จะท่าหน้าที่เปลี่ยนน้่าตาล

                  ให้เป็นแอลกอฮอล์และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (หลังจากการหมัก 1 – 2 วัน จะได้กลิ่นแอลกอฮอล์) และเกิด
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144