Page 32 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                            นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาการปลูกหญ้าแฝกเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยศึกษาการปลูก
                       หญ้าแฝกรอบกองขยะเพื่อกรองสารพิษในพื้นที่เทศบาลหลังสวน ต าบลนาพญา อ าเภอหลังสวน
                       จังหวัดชุมพร ระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2551 ถึง เดือนกันยายน 2553 ท าการศึกษา 5 ต ารับการ
                       ทดลอง คือ ต ารับที่ 1 ไม่ปลูกหญ้าแฝก ต ารับที่ 2 ปลูกหญ้าแฝก 2 แถว ต ารับที่ 3 ปลูกหญ้าแฝก 3 แถว

                       ต ารับที่ 4 ปลูกหญ้าแฝก 2 แถว 2 แถบ และต ารับที่ 5 ปลูกหญ้าแฝก 3 แถว 2 แถบ ผลการทดลอง
                       พบว่าทุกต ารับมีค่าความเป็นกรด-ด่างเพิ่มขึ้น โดยต ารับที่ 2  เพิ่มขึ้นมากที่สุดเท่ากับ 5.42  ใน
                       ทุกต ารับการทดลองมีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น โดยต ารับที่ 2  มีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นมาก
                       ที่สุดเท่ากับ 0.85  จากปริมาณอาร์เซนิคในดินพบว่าต ารับที่มีการปลูกหญ้าแฝกในปีแรก  (2551)  มี

                       แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น แต่ในปีที่  2  และ 3  มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ต ารับที่ไม่มีการปลูกหญ้าแฝก
                       มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี ในใบหญ้าแฝกทุกต ารับมีแนวโน้มในการสะสมอาร์เซนิคเพิ่มมากขึ้นทุกปี
                       โดยต ารับที่ 3 เพิ่มขึ้นมากที่สุดเท่ากับ 0.89 ในรากหญ้าแฝกมีปริมาณอาร์เซนิคในปีแรก (2551) และ
                       ปีที่ 2 (ชัยชนะ, 2553)

                            ธนพล และพิมพวัฒน์ (2557) ศึกษาการสลายสารฟีนอลในน้ าเสียลักลอบทิ้งโดยทุ่นลอย
                       หญ้าแฝก ซึ่งวัตถุประสงคหลักของโครงการวิจัยนี้คือการสาธิตและประเมินประสิทธิภาพของการใช
                       ระบบหญาแฝกเพื่อบ าบัดฟนฟูดินและน้ าที่ปนเปอนสารฟนอลจากการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม

                       ในต าบลหนองแหน อ าเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อปกปองสุขภาพของชาวชุมชนที่ไดรับ
                       ผลกระทบจากการปนเปอนสารได้รายงานผลวิจัยว่าหญ้าแฝกสามารถหลั่งสาร peroxide  และ
                       peroxidase  ที่สามารถสลายสารฟีนอล (ไม่ใช่กระบวนการดูดซับแต่เป็นการสลายให้แปรสภาพเป็น
                       สารอื่นที่ไม่มีพิษ) ทั้งนี้สารฟีนอลเป็นสารอันตรายที่ถูกลักลอบทิ้งในพื้นที่ ต าบลหนองแหน โดย
                       ท าการทดลองในห้องปฏิบัติการในตู้กระจก 3 กรณี กรณีแรก คือ เติมสารฟีนอลลงไป 500 มิลลิกรัม

                       ต่อลิตร ในน้ ากลั่นปราศจากไอออน (DI  water)  โดยไม่ใช้หญ้าแฝก กรณีที่สองกรณีแรกคือเติมสาร
                       ฟีนอลลงไป 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ในน้ ากลั่นปราศจากไอออน (DI water) และใช้ทุ่นลอยหญ้าแฝก
                       ในการบ าบัดและกรณีสุดท้ายคือการใช้ทุ่นลอยหญ้าแฝกในการบ าบัดน้ าเสียอุตสาหกรรมลักลอบทิ้ง

                       จากพื้นที่ของนายมนัส สวัสดี โดยมีการเติมสารฟีนอลลงไปเป็น 500  มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งสูงเกิน
                       มาตรฐานน้ าทิ้งอุตสาหกรรม 500 เท่า ซึ่งได้ผลการทดลองทั้ง 3 กรณีจะเห็นได้ว่าหากไม่มีการใช้
                       ทุ่นลอยหญ้าแฝกสารฟีนอลในน้ าจะสลายตัวเองได้ช้ามาก (ด้วยกระบวนการ Hydrolysis  และ
                                                            -4
                       photodegradation) คือ สลายที่อัตรา 5x10  ต่อชั่วโมง ถ้าจะรอให้สารปนเปื้อนนี้สลายตัวเองต้อง
                       ใช้เวลาถึง 7,900 ชั่วโมงอย่างไรก็ดีเมื่อมีการใช้ทุ่นลอยหญ้าแฝกในการบ าบัดน้ า DI  ปนเปื้อนสาร
                       ฟีนอล พบว่าในช่วง 250 ชั่วโมงแรก ทุ่นลอยหญ้าแฝกไม่ได้เร่งการสลายสารฟีนอลแต่อย่างได้ แต่
                                                                                     -4
                       สลายที่อัตราใกล้เคียงกับกรณีไม่มีทุ่นลอยหญ้าแฝก (อัตราการสลาย 8x10  ต่อชั่วโมง) อย่างไรก็ดี
                       หลังจาก 250 ชั่วโมงผ่านไป ทุ่นลอยหญ้าแฝกเร่งการสลายสาร ฟีนอลดัวยอัตราที่เร็วกว่ากรณีที่ไม่ใช้
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37