Page 33 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28






                                                                          -4
                       ทุ่นลอยหญ้าแฝกถึง 23 เท่า (อัตราการสลายเท่ากับ 115x10  ต่อชั่วโมง) ทั้งนี้อาจเนื่องจากในช่วง
                       250 ชั่วโมงแรก สารฟีนอลอาจจะยังไม่ได้สร้างความระคายเคืองให้กับรากของหญ้าแฝกจนถึงขั้นที่
                       รากหญ้าแฝกต้องหลั่งสาร Peroxide  และ Peroxidase  ออกมาปกป้องตัวเอง โดยการสลายสาร
                       ฟีนอลหลังจาก 250 ชั่วโมง อาจเกิดความเสียหายจนกระทั่งหญ้าแฝกทนไม่ไหวต้องหลั่งสารชีวเคมี

                       ออกมาตอบโต้ดังกล่าว และสลายสารฟีนอลจากน ้า DI  อย่างรวดเร็ว ปรากฏการณ์เดียวกันถูกตรวจ
                       พบส าหรับกรณีการใช้ทุ่นลอยหญ้าแฝกบ าบัดน้ าเสียอุตสาหกรรมลักลอบทิ้ง กล่าวคือสารฟีนอลสลาย
                       ด้วยอัตราช้าๆ ใน 500 ชั่วโมงแรกจากนั้นก็สลายอย่างรวดเร็วมากๆ เร็วกว่ากรณีที่ไม่ใช้ทุ่นลอย
                                                                    -4
                       หญ้าแฝกถึง 42 เท่า (อัตราการสลายเท่ากับ 203x10  ต่อชั่วโมง) คาดว่าน่าจะมาจากสมมุติฐาน
                       ดังกล่าวข้างต้นด้วยเหตุนี้จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าทุ่นลอยหญ้าแฝกมีศักยภาพในการสลายสารฟีนอล
                       ในน้ าเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนมากกว่าค่ามาตรฐานน้ าทิ้งอุตสาหกรรมถึง 550 เท่า ให้ปลอดภัยได้
                       ในเวลาประมาณ 900  ชั่วโมง ในขณะที่หากไม่ใช้ทุ่นลอยหญ้าแฝก และให้ธรรมชาติบ าบัดตัวเอง
                       จะต้องใช้เวลาถึง 7,900 ชั่วโมง

                            ปิยะดา (2557) ได้ศึกษาประสิทธิภาพของหญ้าแฝกในการบ าบัดไซยาไนด์ที่ปนเปื้อนในน้ า โดย
                       ใช้หญ้าแฝก 3 พันธุ์ คือ ศรีลังกา สงขลา และสุราษฎร์ธานี อายุ 3 เดือน โดยใช้หญ้าแฝก 1 ต้น มาบ าบัด
                       น้ าเสียที่ปนเปื้อนไซยาไนด์ในน้ า 5 ลิตร ในถังพลาสติก เป็นระยะเวลา 2  เดือน พบว่าความสูงและ

                       ความยาวของรากหญ้าแฝกที่ปลูกในน้ าที่ปนเปื้อนไซยาไนด์มีการเจริญเติบโตน้อยกว่าปลูกในน้ ากลั่น
                       และหญ้าแฝกพันธุ์ศรีลังกามีการดูดซับไซยาไนด์ได้ดีที่สุด ในขณะที่พันธุ์สงขลา 3  และพันธุ์
                       สุราษฏร์ธานี ไม่สามารถทนต่อน้ าที่ปนเปื้อนไซยาไนด์ที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 35 มิลลิกรัมต่อลิตร
                       และยังคงเหลือไซยาไนด์ปนเปื้อนในน้ าเกินมาตรฐาน ดังนั้นพันธุ์ศรีลังกาจึงมีความเหมาะสมในการ
                       บ าบัดน้ าเสียที่ปนเปื้อนไซยาไนด์มากที่สุด
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38