Page 29 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24







                       หนองน้ าลึก พืชที่มีชีวิตรอด และเจริญเติบโตได้ดี มี 3  ชนิด ได้แก่ บัวสาย ดีปลีน้ า และสาหร่าย
                       หางกระรอก ซึ่งโดยเฉลี่ยพืชสามารบ าบัดน้ าเสียได้เป็นอย่างดี โดยสามารถลดค่าบีโอดี (10.1-12.1
                       มิลลิกรัมต่อลิตร)  และไนเตรท (0.36-0.71  มิลลิกรัมต่อลิตร)  ของน้ าเสียที่ผ่านการบ าบัดด้วย
                       หน่วยต่างๆ ของระบบบึงประดิษฐ์ได้ประมาณ 83  เปอร์เซ็นต์  และ 65 เปอร์เซ็นต์  ในระยะเวลา

                       14 สัปดาห์ รวมถึงมีการศึกษาประสิทธิภาพของพืชน้ า 3 ชนิด คือ ผักตบชวา บัวสาย และธูปฤาษี ปลูก
                       ระบบเดี่ยว และผสม ในการบ าบัดน้ าเสียชุมชน โดยทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของพืชและ
                       ระยะเวลาในการกักเก็บน้ าเสีย (HRT) ในการบ าบัดของระบบพืช 10 วัน 15 วัน และ 20 วัน พบว่า
                       ในระบบเดี่ยว ผักตบชวาลดค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ (Total Suspended Solids; TSS) ได้ดี

                       ที่สุด คือร้อยละ 94.59  ที่ระยะเวลา 10  วัน, ธูปฤาษีลดค่าบีโอดีได้ดีที่สุดคือร้อยละ 89.81  ที่
                       ระยะเวลา 10 วัน และผักตบชวาลดค่าฟอสฟอรัส (TP) ได้สูงสุด คือ ร้อยละ 97.93 และในระบบผสม
                       ค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ (TSS) ที่ดีที่สุดคือร้อยละ 93.38 ระยะเวลา 10 วัน ค่าบีโอดีที่ดีที่สุด
                       คือ ร้อยละ 81.56  ระยะเวลา 10  วัน และค่าฟอสฟอรัสทั้งหมด (TP)  ที่ดีที่สุดคือ ร้อยละ 97.31

                       ระยะเวลา 20  วัน นอกจากนี้พืชทุกชนิดสามารถลดค่าปริมาณรวมทั้งหมดของไนโตรเจนอินทรีย์
                       (Total  Kjeldahl  Nitrogen:  TKN)  ของได้เท่าๆ กันมีค่าเข้าใกล้ร้อยละ 100  โดยมีค่าปริมาณรวม
                       ทั้งหมดของไนโตรเจนอินทรีย์ของน้ าเสียที่เข้าระบบอยู่ระหว่าง 0.24-4.34 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งถือว่า

                       อยู่ในเกณฑ์น้อย เมื่อขยายผลการทดลองสู่พื้นที่จริง พบว่าระบบผักตบชวาให้ประสิทธิภาพในการลด
                       ค่าของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ (TSS) สูงสุด คือร้อยละ 92.14-94.59 ระบบธูปฤาษีให้ประสิทธิภาพ
                       ในการลดค่าบีโอดีสูงสุดคือร้อยละ 79.81-89.81  และค่าฟอสฟอรัส (TP)  นั้นทุกระบบพืชให้ผลที่มี
                       ประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 88.48-97.94 ส าหรับค่าปริมาณรวมทั้งหมดของไนโตรเจน
                       อินทรีย์ทุกระบบพืชมีค่าเข้าใกล้ ร้อยละ 100 ในน้ าเสียที่มีค่าความเข้มข้นของปริมาณรวมทั้งหมดของ

                       ไนโตรเจนอินทรีย์ เข้าระบบอยู่ในช่วง 0.24-4.34 มิลลิกรัมต่อลิตร (บุญรอด, 2545)
                            อรุโณทัย (2554)  ศึกษาประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อสารอนินทรีย์ไนโตรเจนของพืชน้ า
                       เพื่อการน าไปประยุกต์ใช้ในการบ าบัดน้ าเสีย โดยศึกษาในพืชลอยน้ า 2 ชนิด คือ จอกหูหนูและผักบุ้ง

                       และพืชโผล่เหนือน้ า 2  ชนิด คือ กกรังกา และหญ้าแฝก น าพืชทั้ง 4  ชนิด มาปลูกในสารละลาย
                       ที่เตรียมจากสูตร Start  and  Barko  (1985)  มีการให้ไนโตรเจนอนินทรีย์ในรูปแบบที่ต่างกัน คือ
                       ไนเตรต แอมโมเนียมหรือแอมโมเนียมไนเตรต ในความเข้มข้น 500 ไมโครโมล พบว่าจอกหูหนูมีการ
                                                                                   -1
                       เจริญเติบโตสัมพัทธ์ดีที่สุด (Relative  Growth  Rate,  RGR=0.12  d )  รองลงมาคือผักบุ้งและ
                       หญ้าแฝก ส าหรับการดูดซึมไนโตรเจน พบว่าพืชลอยน้ ามีค่าสูงกว่าพืชเหนือน้ า จึงท าการคัดเลือก
                       จอกหูหนู และผักบุ้ง มาศึกษาความสามารถในการทนต่อแอมโมเนียมความเข้มข้นสูง โดยปลูก
                       ในสารละลายที่มีแอมโมเนียมเข้มข้น 0.5 1 5 10 มิลลิโมล พบว่าพืชทั้ง 2 ชนิด มีอัตราการเจริญสูง
                       ที่ความเข้มข้น 1 มิลลิโมล ในขณะเดียวกันที่ความเข้มข้น 5 10 15 มิลลิโมล พืชทั้ง 2 ชนิด มีอัตรา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34