Page 36 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31







                               4.6 หญ้าแฝกพันธุ์ศรีลังกา สงขลา และสุราษฎร์ธานี สามารถน ามาใช้เพื่อการปรับปรุง
                       คุณภาพน้ าของน้ าเสียชุมชนได้ และสารมาถบ าบัดไซยาไนด์ที่ปนเปื้อนในน้ าได้ โดยหญ้าแฝกพันธุ์
                       ศรีลังกามีการดูดซับไซยาไนด์ได้ดีที่สุด จึงมีความเหมาะสมในการบ าบัดน้ าเสียที่ปนเปื้อนไซยาไนด์
                       มากที่สุด

                               4.7 หญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3  สามารถบ าบัดโครเมียมและอาร์เซนิคในระบบบึงประดิษฐ์
                       ส าหรับประสิทธิภาพในการบ าบัดอาร์เซนิคต่ า แต่ยังสามารถเจริญเติบโตได้ดี และไม่พบพืชตาย
                       เนื่องจากน้ าเสียที่ปนเปื้อนโครเมียมและอาร์เซนิค ใบหญ้าแฝกจะมีการสะสมอาร์เซนิคเพิ่มมากขึ้นทุกปี
                               4.8 หญ้าแฝกพันธุ์มอนโต ราชบุรี และสุราษฎร์ธานี สามารถดูดซึมโลหะหนักได้ไม่ต่างกัน

                       โดยมีปริมาณโลหะหนักสะสมมากที่สุดอยู่ในราก รองลงมาคือส่วนใบ และล าต้น

                                                       สรุปผลการด้าเนินงาน


                            จากการศึกษาบทบาทของหญ้าแฝกในการบ าบัดน้ าเสียและสิ่งปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมข้างต้น
                       จะเห็นได้ว่าหญ้าแฝกมีความสามารถในการบ าบัดน้ าเสียได้เป็นอย่างดีทั้งในระบบแพลอยน้ า ระบบบึง
                       ประดิษฐ์และการปลูกหญ้าแฝกในแหล่งน้ าเสีย โดยหลังจากการบ าบัดน้ าเสียแล้วพบว่าค่าบีโอดี ทีเค
                       เอ็น ฟอสฟอรัสทั้งหมด ฟอสเฟตทั้งหมดลดลง และมีค่าดีโอเพิ่มสูงขึ้น ท าให้คุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์ที่

                       ดีสามารถปล่อยลงสู่แหล่งน้ าได้ ซึ่งความแตกต่างของพันธุ์หญ้าแฝกให้ผลการบ าบัดน้ าเสียแตกต่างกัน
                       ไม่มากนัก ระบบการปลูกหญ้าแฝกในการบ าบัดน้ าเสีย มี 2 ระบบ คือ ระบบแพลอยน้ า  และระบบ
                       การปลูกหญ้าแฝกลงดินในแหล่งน้ าเสีย คือ

                            การปลูกหญ้าแฝกในระบบแพลอยน้ าสามารถใช้บ าบัดน้ าเสียได้จากหลายแหล่ง ได้แก่
                            1.  การบ าบัดน้ าเสียชุมชนควรใช้หญ้าแฝกพันธุ์สุราษฏร์ธานี (กนกพร, 2549 ทัศนี และคณะ,

                       2557) แต่หากน้ าเสียมีบีโอดีและธาตุอาหารสูงสามารถใช้หญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 ได้ (กนกพร, 2549)
                       และมงคล และคณะ (2549) ยังพบว่าหญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 สามารถลดกลิ่นของน้ าเสียให้อยู่ใน
                       ระดับปกติที่ไม่รบกวนได้นอกจากนี้การปลูกหญ้าแฝกร่วมกับผักตบชวาสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน
                       การบ าบัดน้ าเสียชุมชนได้มากขึ้นอีกด้วย เนื่องจากหญ้าแฝกอาศัยรากที่ยาวท าหน้าที่ในการเป็น

                       ตัวกลางในการยึดเกาะของจุลินทรีย์และสามารถดูดสารอินทรีย์มาเป็นอาหาร และมีจุลินทรีย์
                       ที่สามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ท าให้การย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะ
                       ที่ผักตบชวามีประสิทธิภาพสามารถดูดซับฟอสฟอรัสทั้งหมดและทีเคเอ็นได้ดี (ทัศนี และคณะ, 2557)
                            2.  หญ้าแฝกพันธุ์สุราษฎร์ธานี และพันธุ์ศรีลังกามีประสิทธิภาพในการบ าบัดน้ าทิ้งจากโรงนม

                       ได้ดี (ดารินทร์, 2551)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41