Page 37 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       32







                            3.  การบ าบัดน้ าชะมูลฝอยดิบ ควรใช้หญ้าแฝกหญ้าแฝกพันธุ์สุราษฎร์ธานี เจริญเติบโตได้ดี
                       ในน้ าชะมูลฝอยที่ได้รับการบ าบัดแล้วและน้ าคลองควรใช้หญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 (วิลาวัลย์ และคณะ,
                       2552)
                            4. การบ าบัดน้ าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตน้ ามันปาล์มควรมีการใช้หญ้าแฝก 15 กอ

                       ต่อปริมาณน้ าเสีย 40 ลิตร และมีระยะเวลาในการบ าบัด 13 วัน (Darajeh et al., 2016) การบ าบัด
                       น้ าเสียโดยระบบบึงประดิษฐ์ ได้แก่
                               4.1  การบ าบัดโครเมียมหญ้าแฝกพันธ์สงขลา 3 มีประสิทธิภาพในการบ าบัดที่ดี (ชาลินี
                       และคณะ, 2550)

                               4.2  การบ าบัดน้ าเสียชุมชนที่มีการใช้ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ที่มีการปลูก
                       หญ้าแฝกในชั้นกรองใต้น้ า (Vegetated  Submerged  Bed  Constructed  Wetlands  ;VSBCW)
                       ร่วมกับระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์ (Biological  Nutrient  Removal  Activated
                       Sludge  ;BNRAS)  นั้นมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแอกติเวทเต็ดสลัดจ์เพียง

                       อย่างเดียว (Badejo et al., 2017)
                               4.3  การบ าบัดน้ าท้ายเขื่อนหรือน้ าดิบที่ไม่ได้รับการบ าบัด โดยการผสมผสานบึงประดิษฐ์
                       แบบน้ าไหลใต้ผิวชั้นกรองในแนวดิ่งกับหญ้าแฝก มีประสิทธิภาพในการก าจัดของเสียในรูปซีโอดี

                       แอมโมเนีย ไนโตรเจน และไนโตรเจนทั้งหมดได้เป็นอย่างดี (Xiao et al., 2009)
                            ระบบการปลูกหญ้าแฝกลงดินในแหล่งน้ าเสีย ได้แก่

                            1. การบ าบัดน้ าเสียอุตสาหกรรม หญ้าแฝกสามารถเจริญเติบโต และบ าบัดน้ าเสียได้ทั้งโรงงาน
                       นม โรงงานแบตเตอร์รี่ โรงงานผลิตโคมไฟ และโรงงานหมึกพิมพ์ ซึ่งโรงงานหมึกพิมพ์น้ าเสียที่มีโลหะ
                       หนักปนเปื้อนจ านวนมากควรปลูกหญ้าแฝกพันธุ์ก าแพงเพชร2 เนื่องจากเจริญเติบโตได้ดีที่สุด และ

                       ยังพบว่าหญ้าแฝกสามารถลดโลหะหนักในน้ าเสียได้อีกด้วย เช่น ลดตะกั่วจากน้ าเสียโรงงาน
                       แบตเตอร์รี่ ลดสังกะสีจากน้ าเสียโรงงานผลิตโคมไฟ ลดเหล็กและทองแดงจากน้ าเสียโรงงานหมึกพิมพ์
                       ดังนั้นหญ้าแฝกจึงมีศักยภาพในการบ าบัดน้ าเสียที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี (สุทธิรักษ์,
                       2549)
                            2. การบ าบัดน้ าทิ้งจากห้องครัวในโรงแรม การบ าบัดด้วยหญ้าแฝกมีประสิทธิภาพในการบ าบัด

                       ได้เป็นอย่างดีซึ่งตัวชี้วัดคุณภาพน้ าที่ถูกบ าบัดทั้งหมดอยู่ภายใต้มาตรฐานของ IS2292,  1992  และ
                       ยังสามารถลดจ านวนแบคทีเรีย E.coli ได้ถึง 85% (Mathew et al., 2016)
                            นอกจากนี้ยังพบว่าหญ้าแฝกสามารถช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อีกด้วย ได้แก่ หญ้าแฝกพันธุ์

                       ศรีลังกามีประสิทธิภาพในการบ าบัดน้ าเสียที่ปนเปื้อนไซยาไนด์ได้เป็นอย่างดี (ปิยะดา, 2557) อีกทั้ง
                       ยังพบว่าหญ้าแฝกสามารถดูดซึมโลหะหนักได้แก่ สารหนู ตะกั่ว และแคตเมียม โดยมีปริมาณโลหะ
                       หนักสะสมมากที่สุดอยู่ในราก รองลงมาคือส่วนใบและล าต้น โดยหญ้าแฝกพันธุ์มอนโตเจริญเติบโตทน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42