Page 34 - บทบาทของหญ้าแฝกในการบำบัดสารปนเปื้อนในน้ำและสิ่งแวดล้อม
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       29







                       ตารางที่ 1 เปรียบเทียบไซยาไนด์ที่เหลืออยู่ในน้ าหลังการบ าบัดด้วยหญ้าแฝกและความทนทานของ

                                 หญ้าแฝกต่อพิษของไซนาไนด์ที่ปนเปื้อนในน้ าจากการทดลอง
                       ความเข้มข้นไซยาไนด์      ปริมาณไซยาไนด์ที่เหลือในน้ า (มิลลิลิตร)/ความทนของหญ้าแฝก (สัปดาห์)
                          (มิลลิกรัม/ลิตร)     พันธุ์ศรีลังกา       พันธุ์สงขลา 3       พันธุ์สุราษฎร์ธานี
                               5                  (-)/8                (-)/6                 (-)/8
                              10                  (-)/8                (-)/6                 (-)/7
                              15                  (-)/8                (-)/5                 (-)/7
                              20                  (-)/6                (-)/4                 (-)/6
                              25                  (-)/6                (-)/4                 (-)/5
                              30                  (-)/6                (-)/4                 (-)/5
                              35                  (-)/5               5.78/4                1.25/5
                              40                 2.66/5               9.24/4               11.46/4
                              45                 3.11/5               12.78/4              11.14/4
                              50                 9.87/5               14.32/4              17.42/4

                       ที่มา : ปิยะดา (2557)


                            Darajeh  et  al.  (2016)  ศึกษารูปแบบการลดปริมาณค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ าทิ้งที่ได้จาก
                       อุตสาหกรรมการผลิตน้ ามันปาล์มในประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีการผลิตน้ ามันปาล์มเป็นอันดับ 2
                       ของโลกรองจากประเทศอินโดนีเซียท าให้ เกิดปัญหาน้ าทิ้งจากกระบวนการผลิตน้ ามัน (Palm  oil
                       mill effluent ; POME) ซึ่งเป็นปัญหาที่ยากต่อการแก้ไข เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท าให้

                       ยากต่อการบ าบัดท าให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ในการทดลองนี้จึงน าเทคนิคหญ้าแฝกลอยน้ า ใน
                       สภาวะที่เหมาะสมมาใช้ในการบ าบัดน้ าเสียจากอุตสาหกรรมน้ ามัน (Palm  oil  mill  secondary
                       effluent ; POMSE) โดยจ าลองสภาวะบ่อกักเก็บน้ าทิ้งในถังใหญ่ขนาด 40 ลิตร ท าการทดสอบหน่วย
                       ที่ใช้ในการทดลองที่ต่างกัน และใช้วิธี response  surface  methodology (RSM) ในการวัดค่าหา

                       กระบวนการบ าบัดน้ าเสียที่เหมาะสม  ปัจจัยส าคัญในการทดลองนี้ คือ 1) ค่าความเข้มข้น POMSE
                       2) ความหนาแน่นหญ้าแฝกที่น ามาใช้ และ  3) ระยะเวลาที่ใช้ในการบ าบัดน้ าเสีย 1-4 สัปดาห์ โดย
                       แผนการทดลองที่น ามาใช้ คือ central  composite  design  (CCD)  ซึ่งอาศัยการประเมินค่าบีโอดี

                       และซีโอดี จากการทดลองพบว่าสสารในน้ าที่ผ่านการบ าบัดมีค่าบีโอดี และซีโอดีลดลงไปถึง 96 และ
                       94 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ โดยบันทึกข้อมูลตลอดระยะเวลา 4 สัปดาห์ โดยหน่วยทดลองที่ให้ค่าบีโอดี
                       ดีที่สุดมีค่าบีโอดีเพียง 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งมีการปลูกหญ้าแฝก 15 กอ ระยะเวลา 13 วัน โดยมีค่า
                       ความเข้มข้น POMSE เริ่มต้นที่ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร หน่วยการทดลองที่ดีรองลงมาคือ มีค่าบีโอดี 32
                       มิลลิกรัมต่อลิตร ใช้หญ้าแฝกจ านวน 30 กอ ระยะเวลา 24 วัน และมีค่าความเข้มข้นของ POMSE
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39