Page 39 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        29







                       เช่นนี้อีก 2-3 ชั้น ชั้นบนสุดของกองปุ๋ยควรปิดทับด้วยเศษพืชที่เหลืออยู่เพื่อป้องกันการสูญเสีย
                       ความชื้น
                                                       (1.2.3)  ดูแลรักษากองปุ๋ยโดยรักษาความชื้นอยู่เสมอให้มี
                       ความชื้นประมาณ 50-60  เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก และกลับกองปุ๋ยประมาณ 7-10  วันต่อครั้ง  เพื่อ

                       ระบายอากาศ เพิ่มออกซิเจนให้กองปุ๋ยหมัก ช่วยให้วัสดุคลุกเคล้าเข้ากัน และช่วยลดความร้อนในกอง
                       ปุ๋ย
                                                   (1.3) อัตราและวิธีการใช้ปุ๋ยหมักซุปเปอร์ พด.1
                                                       (1.3.1)  ข้าว  ใช้อัตรา 2 ตันต่อไร่ หว่านให้ทั่วพื้นที่แล้วไถ

                       กลบก่อนปลูกพืช
                                                       (1.3.2) พืชไร่ ใช้อัตรา 2 ตันต่อไร่ โรยเป็นแถวตามแนวปลูก
                       พืช แล้วคลุกเคล้ากับดิน
                                                       (1.3.3)  พืชผัก ใช้อัตรา 4 ตันต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงปลูก ไถ

                       กลบขณะเตรียมดิน
                                                      (1.3.4) ไม้ผล ไม้ยืนต้น ส าหรับการเตรียมหลุมปลูก : ใช้อัตรา
                       20  กิโลกรัมต่อหลุม โดยคลุกเคล้าปุ๋ยหมักกับดินใส่รองก้นหลุม ส่วนไม้ผล ไม้ยืนต้นต้นที่เจริญแล้ว :

                       ใช้อัตรา 20-50 กิโลกรัมต่อต้น โดยขุดร่องลึก 10 เซนติเมตร ตามแนวทรงพุ่ม ใส่ปุ๋ยหมักในร่องแล้ว
                       กลบด้วยดิน หรือหว่านให้ทั่วใต้ทรงพุ่ม (กรมพัฒนาที่ดิน, 2550)
                                          2.2.3)  น้ าหมักชีวภาพ หมายถึง ของเหลวได้จากการหมักวัสดุอินทรีย์ เช่น
                       พืช สัตว์ที่มีลักษณะสด หรืออวบน้ าโดยอาศัยจุลินทรีย์ในสภาพที่ไม่ต้องการอากาศช่วยย่อยสลายวัสดุ
                       อินทรีย์และได้ผลผลิตภัณฑ์หลายชนิด ได้แก่ กรดอินทรีย์ ฮอร์โมน หรือสารเร่งการเจริญเติบโตของ

                       พืช วิตามิน กรดฮิวมิก และธาตุอาหารพืช กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีบทบาทในการย่อยสลาย คือ กลุ่มยีสต์
                       (Yeasts) มีรูปร่างกลมหรือรี สืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (Budding) ในกระบวนการ
                       หมักใช้น้ าตาลเป็นแหล่งอาหารท าหน้าที่เปลี่ยนน้ าตาลเป็นแอลกอฮอล์และก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์

                       นอกจากนี้ยังได้วิตามิน ฮอร์โมน ค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 4  ถึง  6.5 กลุ่มแบคทีเรียผลิต
                       กรดแลคติค (Lactic  acid  bacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ไม่สร้างสปอร์ (Endospore) รูปร่าง
                       เป็นท่อนเจริญเติบโตในสภาพไม่มีออกซิเจน และใช้น้ าตาลเป็นแหล่งอาหารและพลังงาน จุลินทรีย์
                       ดังกล่าวทนทานต่อสภาพความเป็นกรดสูง ค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่างอยู่ระหว่าง 2 ถึง 3.5

                       ผลิตได้กรดแลคติก กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายไนโตรเจน ประกอบด้วยแบคทีเรีย รา และแอคติโนมัยซีส
                       ท าหน้าที่ย่อยสลายโปรตีนให้มีโมเลกุลเล็กลงเป็นกรดอะมิโน หรือสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ที่เกษตรกร
                       รู้จัก
                                                (1) จุดเด่นของสารเร่งซุปเปอร์ พด.2

                                                    (1.1) สามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ าจากวัตถุดิบได้หลากหลาย เช่น ผัก
                       ผลไม้ ปลา หอยเชอรี่ เปลือกไข่ เศษก้างและกระดูกสัตว์
                                                  (1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการละลายธาตุอาหารในการหมักวัตถุดิบ
                       จากเปลือกไข่ ก้าง และกระดูกสัตว์

                                                    (1.3) เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญได้ในสภาพความเป็นกรด
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44