Page 35 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        25







                       พื้นที่ตอนล่างและช่วยท าให้น้ าซึมซับลงในดินมากขึ้นความยาวของแถวหญ้าแฝกขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่
                       ในพื้นที่การเกษตร
                                                    (2.1.2)  การปลูกหญ้าแฝกอนุรักษ์ดินและน้ านอกพื้นที่การเกษตร
                       โดยปลูกเป็นแถวเดี่ยวขวางความลาดชันของพื้นที่เป็นช่วงๆ เพื่อเป็นก าแพงชะลอความเร็วและดัก

                       ตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่พื้นที่ตอนล่าง พื้นที่เหล่านี้ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ปลูกป่า ล าธาร คลอง แม่น้ า
                       อ่างเก็บน้ า และถนน
                                                (2.2) การใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในการปรับปรุงบ ารุงดิน การปลูกหญ้า
                       แฝกมีบทบาทส าคัญในการปรับปรุงบ ารุงดินทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งทั้งใบและราก

                       หญ้าแฝกเมื่อย่อยสลายสามารถปลดปล่อยธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองแก่ดิน รากหญ้าแฝก
                       ช่วยให้ดินร่วนซุยเนื่องจากรากหญ้าแฝกหยั่งลึกลงดินมีการดูดธาตุอาหารจากดินล่างขึ้นมาหมุนเวียน
                       และมีจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์หลายชนิดอาศัยบริเวณรากหญ้าแฝกเมื่อรากหญ้าแฝกตายลงเกิด
                       ช่องว่างส าหรับน้ าและอากาศถ่ายเทได้สะดวกเป็นสภาพที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือ

                       ช่วยให้ปุ๋ยที่ใส่ลงดินซึมลงดินได้มากขึ้น
                                                (2.3) การใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในการรักษาและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม
                       คุณสมบัติหญ้าแฝกที่มีล าต้นตั้งตรงระบบรากลึก ชอนไชในดินได้ดีปรับตัวและเจริญเติบโตในสภาพดิน

                       และสภาพอากาศในช่วงกว้างสามารถช่วยดูดซับสารต่างๆ ได้ดี (กรมพัฒนาที่ดิน, 2555)
                               3.4.2 การปรับปรุงบ ารุงดิน
                                     การขุดถมดินในการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าโดยมาตรวิธีกลท าให้หน้าดินที่ใช้
                       เพาะปลูกถูกเคลื่อนย้าย ท าให้โครงสร้างดินถูกท าลาย ดินจึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูกพืช ดังนั้นก่อน
                       เพาะปลูกจ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดิน เช่นเดียวกับการปลูกพืชซ้ าในดินเดิมอย่างต่อเนื่อง โดย

                       ไม่มีการปรับปรุงบ ารุงดิน จะท าให้ดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ไปอย่างรวดเร็ว ดินจะแข็ง ไม่ร่วนซุย
                       ดูดซับน้ าและธาตุอาหารได้น้อยลง และที่ส าคัญคือจะท าให้การใช้ปุ๋ยเคมีไม่ได้รับผลดีเท่าที่ควร การใช้
                       ปุ๋ยเคมีที่ได้ผลจะต้องใช้ควบคู่ไปกับการปรับปรุงบ ารุงดิน หากใช้ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่มี

                       การปรับปรุงบ ารุงดินติดต่อกันเป็นเวลานาน จะท าให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ท าให้ผลผลิตลดลง
                       ต้องใช้ปุ๋ยเคมีมากขึ้น เป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิตให้สูงขึ้น การปรับปรุงบ ารุงดินท าได้โดยการเพิ่ม
                       อินทรียวัตถุให้แก่ดิน ซึ่งจะท าให้ได้รับประโยชน์ดังนี้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)
                                     1) ประโยชน์ของการปรับปรุงบ ารุงดิน

                                        (1) ท าให้ดินจับตัวกันเป็นก้อนเล็กๆ ร่วนซุยไถพรวนง่าย ระบายน้ าและอากาศได้
                       ดี รากพืชก็จะเจริญเติบโตได้ดี
                                        (2) ท าให้ดินทนทานต่อการชะล้างดีขึ้น
                                        (3) ท าให้ดินอุ้มน้ าได้มากขึ้นและลดการระเหยน้ าออกจากดิน

                                        (4) ท าให้ดินดูดซับธาตุอาหารพืชไว้เป็นประโยชน์แก่พืชได้มากขึ้น
                                        (5) อินทรียวัตถุจะสลายตัวปลดปล่อยธาตุอาหารให้แก่พืช
                                        (6) ท าให้ธาตุอาหารพืชในดินละลายออกมาเป็นประโยชน์มากขึ้น
                                        (7) เพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมีที่ใส่ลงไปในดินให้เป็นประโยชน์แก่พืชมากขึ้น

                       และลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้ในระยะยาว
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40