Page 38 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        28







                       โพแทสเซียมประมาณ 2.00-2.95  0.30-0.40  และ 2.20-3.00  ตามล าดับ อย่างไรก็ตามน้ าหนักมวล
                       ชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารขึ้นกับปัจจัยของดินและการจัดการ
                                          2.2.2)  ปุ๋ยหมัก เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการน าชิ้นส่วนของพืชมา
                       หมักในรูปของการกองซ้อนกันบนพื้นดินหรือในหลุมเศษชิ้นส่วนของพืชที่น ามาหมักจะต้องผ่าน

                       กระบวนการย่อยสลายจนแปรสภาพไปจากรูปเดิมโดยกิจกรรมจุลินทรีย์จนกระทั้งได้สารอินทรียวัตถุ
                       ที่มีความคงทน ไม่มีกลิ่น มีสีน้ าตาลปนด าและมีอัตราส่วนของสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจนต่ า
                       กรมพัฒนาที่ดินได้ผลิตสารเร่งในการท าปุ๋ยหมัก คือ สารเร่ง พด.1  ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มี
                       ประสิทธิภาพในการย่อยสลายเศษพืชประกอบด้วยเชื้อราและแอคติโนมัยชีสที่ย่อยสารประกอบเชลลู

                       โลสและแบคทีเรียย่อยไขมันใส่ลงในกองปุ๋ยหมักเพื่อลดระยะเวลาการท าปุ๋ยหมักให้สั้นลง คุณภาพ
                       และมาตรฐานของปุ๋ยหมักมีดังนี้ อัตราส่วนสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N  ratio) ไม่
                       มากกว่า 20 ต่อ 1 เกรดปุ๋ยไม่ต่ ากว่าร้อยละ 0.5-0.5-1.0 (ของ N-P O -K 0 ) ตามล าดับ ความชื้น
                                                                               2 5 2
                       ของปุ๋ยหมักไม่ควรมากกว่าร้อยละ 35 ถึง 40  (โดยน้ าหนัก) ปริมาณอินทรียวัตถุประมาณร้อยละ 25

                       ถึง 50 (โดยน้ าหนัก) ความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0 ถึง 7.5 และไม่มีวัสดุเจือปนอื่นๆ
                                                (1) การผลิตและการใช้ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1
                                                     สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการ

                       ย่อยสลายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อผลิตปุ๋ย
                       หมักในเวลารวดเร็วและมีคุณภาพสูง ประกอบด้วยเชื้อราและแอคติโนมัยซีสที่ย่อยสลายสารประกอบ
                       เซลลูโลสและแบคทีเรียย่อยสลายไขมัน
                                                   (1.1) ส่วนผสมของวัสดุในการกองปุ๋ยหมัก 1 ตัน ประกอบด้วย
                                                           - เศษพืชแห้ง         1,000  กิโลกรัม

                                                           - มูลสัตว์           200  กิโลกรัม
                                                         - ปุ๋ยไนโตรเจน         2      กิโลกรัม
                                                         - สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ านวน 1 ซอง

                                                     (1.2) วิธีการกองปุ๋ยหมัก
                                                        การกองปุ๋ยหมัก 1 ตัน จะมีขนาดความกว้าง 2 เมตร ยาว 3
                       เมตร สูง 1.5 เมตร วัสดุที่มีขนาดเล็กให้คลุกเคล้าวัสดุให้เข้ากันแล้วจึงกองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วน
                       วัสดุที่มีชิ้นส่วนยาวจะใช้วิธีการกองเป็นชั้นๆ ประมาณ 3-4 ชั้น โดยแบ่งส่วนผสมที่จะกองออกเป็น 3-

                       4 ส่วน ตามจ านวนชั้นที่จะกอง ซึ่งมีวิธีการกอง ดังนี้
                                                       (1.2.1)  ผสมสารเร่งซุปเปอร์ พด.1  ในน้ า 20  ลิตร คนนาน
                       10-15  นาที เพื่อกระตุ้นให้จุลินทรีย์ออกจากสภาพที่เป็นสปอร์และพร้อมที่จะเกิดกิจกรรมการย่อย
                       สลาย

                                                      (1.2.2)    การกองชั้นแรก มีขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร
                       สูง 30-40 เซนติเมตรโดยน าเศษพืชแห้งที่แบ่งไว้ส่วนที่หนึ่งมากองเป็นชั้น น ามูลสัตว์โรยที่ผิวหน้าเศษ
                       พืชให้ทั่ว โรยปุ๋ยไนโตรเจนทับบนชั้นของมูลสัตว์แล้วราดสารละลายสารเร่งให้ทั่ว ย่ าให้พอแน่นและรด
                       น้ าให้ชุ่ม หลังจากนั้นน าเศษพืชมากองทับเพื่อท าชั้นต่อไป โดยท าเช่นเดียวกับการกองชั้นแรก ท า
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43