Page 36 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        26







                                        (8) ท าให้ได้รับผลผลิตสูงขึ้น และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
                                     2) วิธีการปรับปรุงบ ารุงดิน
                                        2.1)  การใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ปุ๋ยเคมีที่มีสมบัติและสูตรปุ๋ยเหมาะสม เพื่อบ ารุงดินโดย
                       การเพิ่มธาตุอาหารพืชที่จ าเป็นให้กับดินและพืช โดยเฉพาะธาตุ N  P และ K  โดยทั้งนี้ให้ท าการ

                       วิเคราะห์ดินก่อนว่ามีความสมบูรณ์เพียงไรขาดธาตุอาหารอะไรบ้าง ถ้าดินยังขาดธาตุอาหารพืชชนิด
                       อื่นๆ เช่น ธาตุอาหารรองหรือธาตุอาหารเสริม ต้องพิจารณาให้ธาตุอาหารรอง เช่น ธาตุ Mg S หรือ
                       ธาตุอาหารเสริมชนิดต่างๆ เช่น Zn และ Fe เป็นการเพิ่มเติมด้วย ดังนั้น ในปัจจุบันการใส่ปุ๋ยเคมีตาม
                       ค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง นับว่าเป็นการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมี

                       ประสิทธิภาพ มีความแม่นย าสูง และใช้งานง่าย
                                        2.2)  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ทางด้านธาตุ
                       อาหารพืชในดินเป็นหลัก การใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยทั่วๆ ไปมีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงสมบัติทาง
                       กายภาพของดินเป็นส าคัญ จะมีผลดีทั้งในแงของการบ ารุงดินเพื่อเพิ่มพูนธาตุอาหารพืชในดินและการ

                       ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินไปด้วยพร้อมๆ กัน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ท าให้เพิ่ม
                       ปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์บางชนิดลงดินหรือส่งเสริมกิจกรรมของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ใน
                       ดินมากกว่าการใช้เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืชโดยตรง ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่นิยมใช้ ได้แก่

                                          2.2.1) ปุ๋ยพืชสด (Green manure) เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ได้จากการตัด
                       สับหรือไถกลบลงไปในดินในขณะที่พืชยังเขียวอยู่ โดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงบ ารุงดินให้มีความ
                       อุดมสมบูรณ์ในช่วงระยะเวลาที่พืชออกดอกเพราะน้ าหนักสดและปริมาณธาตุอาหารสูง จากนั้นปล่อย
                       ให้เกิดการย่อยสลายจะได้ธาตุอาหารพืชและเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดิน พืชปุ๋ยสดที่นิยมเป็นพืชตระกูลถั่ว
                       เนื่องจากขึ้นได้ง่ายและเจริญเติบโตได้ดี และยังมีคุณสมบัติพิเศษที่รากเป็นที่อยู่อาศัยของไรโซเบียม

                       โดยไรโซเบียมจะตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ ตัวอย่างพืชปุ๋ยสดที่นิยมใช้
                       ปรับปรุงบ ารุงดินนาของพื้นที่โครงการรักษ์น้ าเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ลุ่มน้ าขุนน่าน และโครงการ
                       พัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง ได้แก่ ปอเทือง ซึ่งมีชื่อสามัญ Sun hemp ชื่อวิทยาศาสตร์ Crotalaria

                       juncea มีลักษณะล าต้นตั้งตรงแตกกิ่งก้านสาขามากมีดอกสีเหลือง ออกดอกเมื่อประมาณ 45-50 วัน
                       ขึ้นได้ดีในพื้นที่ดอนที่มีการระบายน้ าดี ไม่ชอบน้ าท่วมขัง ทนแล้ง ปลูกโดยวิธีการหว่าน ใช้อัตราเมล็ด
                       เฉลี่ย 5  กิโลกรัมต่อไร่ จะให้น้ าหนักสดและน้ าหนักแห้งเฉลี่ยอยู่ที่ 2,500-3,000  และ 500-840
                       กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ มีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม

                       แมกนีเซียม และก ามะถัน เฉลี่ยร้อยละ 2.76  0.22  2.40  1.53  2.04 และ 0.96 ตามล าดับ ปุ๋ยพืช
                       สดช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน ชดเชยอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดินให้ดี
                       ขึ้น
                                                (1) ปอเทือง  เป็นพืชปุ๋ยสดที่ได้รับความนิยมมากในเขตภาคเหนือ

                       ตอนล่าง ในรายงานของทรายแก้ว (2557)  ระบุว่า ปอเทืองเป็นพืชดั้งเดิมในเขตร้อนมีประมาณ 600
                       ชนิด ส่วนใหญ่พบในทวีปอเมริกา จัดเป็นพืชตระกูลถั่ว (Leguminosae) ชนิดที่ปลูกกันมากในอินเดีย
                       เพื่อใช้เป็นปุ๋ยพืชสด พืชเส้นใย ได้แก่ Crotalaria  juncea  (sunn  hemp)  และน าเข้ามาปลูกใน
                       ประเทศไทยที่แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ก่อน พ.ศ. 2485  โดยน ามาจากประเทศฟิลิปปินส์ เป็นพืชฤดู

                       เดียว ล าต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขามาก สูงประมาณ 180-300 เซนติเมตร ใบเป็นใบเดียวยาวรี ช่อ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41