Page 30 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง บ้านมณีแก้ว หมู่ที่ 8 ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        20







                       3.4 เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินที่ใช้ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูง
                               3.4.1 มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
                                     การอนุรักษ์ดินและน้ า (Soil and Water Conservation) หมายถึง การกระท าใดๆ
                       ก็ตามที่ก่อให้เกิดผลดีกับทรัพยากรดินและน้ า หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การใช้ประโยชน์ที่ดิน หรือ

                       ทรัพยากรดินและน้ าอย่างเหมาะสมชาญฉลาดและคุ้มค่า โดยค านึงถึงการรักษาความอุดมสมบูรณ์
                       ของดิน เพื่อก่อให้เกิดผลผลิตสูงสุดและยั่งยืนตลอดไป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544)
                                     1) วัตถุประสงค์ของการอนุรักษ์ดินและน้ า ได้แก่
                                       1.1) เพื่อลดการชะล้างพังทลายดิน เพื่อให้อัตราการสูญเสียดินใกล้เคียงกับอัตรา

                       การเกิดดิน และพยายามรักษาให้อยู่ในสภาพที่สมดุล
                                       1.2) เพื่อรักษาปริมาณธาตุอาหารและระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน รวมถึง
                       การป้องกันการสูญเสียและการเพิ่มส่วนที่สูญเสียไปโดยวิธีการหนึ่ง
                                       1.3) เพื่อรักษาระดับอินทรียวัตถุในดิน และควบคุมอัตราการสลายตัว เพิ่มซาก

                       พืชและสัตว์ให้แก่ดิน
                                       1.4) เพื่อรักษาสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ให้มีสภาพที่เหมาะสมต่อการ
                       เจริญเติบโตของพืช รวมถึงการปรับปรุงบ ารุงดินให้ดินมีสมบัติที่ดีขึ้น

                                       1.5) เพื่อรักษาน้ าและความชื้นในดิน รวมถึงการใช้ทรัพยากรน้ าในพื้นที่ให้เกิด
                       ประโยชน์สูงสุด
                                     2)  วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ส าคัญในทางการเกษตรประกอบด้วย 2 มาตรการ
                       (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544) ดังนี้
                                       2.1) มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยวิธีกล (Mechanical  Measures) คือ

                       วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยการก่อสร้างโครงสร้างทางวิศวกรรม เพื่อควบคุมน้ าไหลบาหนาดิน โดย
                       การสรางสิ่งกีดขวางความลาดเทของพื้นที่และทิศทางการไหลของน้ า ชวยลดความเร็วของกระแสน้ า
                       โดยความยาวของความลาดเทจะถูกแบงออกเปนระยะๆ มาตรการวิธีกลมีหลายวิธี  ดังนี้

                                          2.1.1)  การสร้างคันดินกั้นน้ า (Terrace)  กั้นน้ าหรือขวางความลาดเขาของ
                       พื้นที่ มีประโยชน์ลดปริมาณการสูญเสียเนื้อดิน ป้องกันการเกิดร่องน้ า เป็นการสงวนน้ าไว้ใช้ในดินใน
                       บริเวณที่ขาดแคลนน้ า และท าให้การใช้ดินเป็นไปอย่างกว้างขวาง ปราศจากอันตรายจากการสูญเสีย
                       ดิน โดยชนิดของการท าคันดิน คือ

                                               (1) คันดินบันได (Bench Terraces) คือ ขั้นบันไดซึ่งสร้างขึ้นโดยการ
                       ท าคันดินหรือหินไปตามแนวระดับ โดยท าเป็นขั้นๆ แคบๆ สร้างในบริเวณที่มีความลาดเทเกินกว่า 15
                       เปอร์เซ็นต์
                                               (2)  คันดินฐานกว้าง (Broadbase  terrace)  เป็นคันดินที่มีลักษณะ

                       คล้ายคลึงกับคันดินขั้นบันได แต่มีความกว้างของขั้นบันไดกว้างกว่า โดยปกติสร้างขึ้นในบริเวณที่มี
                       ความลาดชันน้อยหรือที่เกือบราบ
                                          2.1.2) การสร้างคูรับน้ าขอบเขา (Hillside Ditch) คือ คูระบายน้ าที่สร้างไว้
                       ในสวนไม้ผล โดยระยะห่างระหว่างคูรับน้ า 2 คู ขึ้นกับความเหมาะสมทางด้านการเพาะปลูก ซึ่งได้แก่

                       ขนาดทรงพุ่ม และระยะแถวของไม้ผล รวมทั้งความต้องการในการใช้คูรับน้ ารอบเขาเป็นพื้นที่ล าเลียง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35