Page 95 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 95

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        64







                       แม้กระทั่งถนนเพื่อขนส่งเครื่องมือเครื่องจักรวัสดุอุปกรณ์การเกษตรรวมทั้งผลผลิตการเกษตรออกสู่
                       ตลาดเป็นต้น
                                        (3) การไถพรวนตามแนวระดับ (Contour Tillage)  การไถพรวนและปลูกพืชตาม

                       แนวระดับ เปนการไถพรวน หวาน ปลูกและเก็บเกี่ยวพืชไปตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่
                       วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการซาบซึมน้ าของดินและรักษาความชุมชื้นในดินและเพื่อควบคุมการไหลบา
                       ของน้ าและการชะลางพังทลายของดินโดยมีหลักการปลูกพืชตามแนวระดับขึ้นกับลักษณะของดิน
                       ความลาดเทลมฟ้าอากาศและลักษณะการใช้ที่ดินการปลูกพืชตามแนวระดับที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด

                       ควรปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทต่ าประมาณร้อยละ 2-7 และความยาวของความลาดเทไมเกิน
                       100 เมตรในพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งและมีการใช้ร่วมกับมาตรการอื่นๆเช่นคันดินขั้นบันไดดิน
                                        (4) บ่อน้ าในไร่นา  (Farm  pond)  สระน้ าในไร่นา (Farm  pond)  หรือบ่อขุด
                       (Excavated pond) คือบ่อน้ าหรือสระเก็บน้ าที่ขุดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้ าฝนน้ าท่าน้ าที่ไหลออก

                       จากดินและน้ าที่ไหลผ่านผิวดินลงในบ่อโดยขุดดินให้มีขนาดกว้างยาวและลึกตามจ านวนน้ าที่ต้องการ
                       จะเก็บกักไว้และน าดินที่ขุดนั้นมาถมเป็นคันรอบสระเพื่อท าเป็นบ่อน้ าในไร่นาสิ่งส าคัญที่ต้องพิจารณา
                       ในการเลือกพื้นที่สร้างสระน้ าเพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการขุดสระแล้วไม่ได้น้ าคือลักษณะและสมบัติ

                       ของดินที่มีผลต่อปริมาณน้ าที่จะเก็บกักเช่นความลึกของดินเนื้อดินและความซึมน้ าหรือความสามารถ
                       ของดินที่ให้น้ าซึมผ่าน (Permeability) ในระดับความลึก1 เมตรซึ่งมีผลต่อปริมาณการไหลซึมของน้ า
                       (Seepage) และปริมาณของก้อนหินจะมีผลต่อความยากง่ายในการขุด
                                        (5) ทางระบายน้ า (Waterway) ทางระบายน้ าเป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อรับน้ า
                       จากพื้นที่ต่างๆซึ่งถูกเบนมาเพื่อให้ไหลไปยังแหลงที่ต้องการเช่นอ่างเก็บน้ าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และแหล่ง

                       น้ าธรรมชาติเป็นต้นทางระบายน้ าแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
                                             (5.1)  Mechanical  waterways  เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยวัสดุ
                       ถาวรเช่นสร้างด้วยอิฐหินและคอนกรีต

                                             (5.2) Vegetated waterways เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยการปูแต่ง
                       พื้นร่องน้ าด้วยหญ้าหรือพืชชนิดอื่นๆ
                                      2) มาตรการวิธีพืช (Biological measures) ที่ใช้ส่วนใหญ่ได้แก่
                                             (1) การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour cultivation) เป็นการไถพรวน

                       และปลุกพืชตามแนวระดับเป็นการไถพรวนหว่านปลูกและเก็บเกี่ยวพืชไปตามแนวระดับขวางความ
                       ลาดเทของพื้นที่เพื่อเพิ่มการซาบซึมน้ าของดินและรักษาความชุ่มชื้นในดินและเพื่อควบคุมการไหล่บ่า
                       ของน้ าและการชะล้างพังทลายของดินประสิทธิภาพของการปลูกพืชตามแนวระดับนี้ขึ้นอยู่กับ
                       ลักษณะของดินความลาดเทลมฟ้าอากาศและลักษณะการใช้ที่ดินโดยทั่วไปแล้วการปลูกพืชตามแนว

                       ระดับที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดนั้นควรปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทอยู่ในระหว่างร้อยละ 2 ถึง 7 และ
                       ระยะของความลาดเทไม่ควรเกิน 100 เมตรประโยชน์ของการปลูกพืชในแนวระดับช่วยสงวนดินจาก
                       การเซาะกร่อนประมาณ 0.12 –  16.72 ตันต่อไร่ต่อปีสงวนน้ าไว้ในดินประมาณ 12.3 –  482.6
                       มิลลิเมตรต่อปีผลผลิตเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10  ป้องกันกล้าพืชและเมล็ดพืชมิให้ถูกน้ าชะพาไป
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100