Page 91 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        60







                       ประโยชน์สูงสุด โดยให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด แผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยจึงสรุปได้
                       ดังนี้
                              3.3.1 แผนการใช้ที่ดินเพื่อกสิกรรม

                                      แผนการใช้ที่ดินด้านกสิกรรมของประเทศไทยยังจ าแนกออกเป็น 2 บริเวณใหญ่ๆ
                       ได้แก่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2541)
                                      1)  แผนการใช้ที่ดินเพื่อการกสิกรรมในเขตชลประทานหรือที่มีศักยภาพในการ
                       ชลประทาน ซึ่งแบ่งออกเป็นเขตย่อยได้ดังนี้คือ

                       1.1)  ท านาในเขตชลประทานมีเนื้อที่ 43,824,203 ไร่ หรือร้อยละ 13.67 ของเนื้อที่ประเทศได้แก่
                       บริเวณที่ราบลุ่มน้ ารายใหญ่ของประเทศที่มีเนื้อดินเหมาะสมต่อการท านาและให้ผลตอบแทนในการ
                       ผลิตข้าวสูงกว่าบริเวณอื่น บริเวณนี้เหมาะส าหรับการผลิตข้าวเพื่อการบริโภคของประชากรใน
                       ประเทศและส าหรับส่งออก ในบริเวณที่มีการชลประทานสมบูรณ์แบบจะสามารถปลูกข้าวได้ 2  ครั้ง

                       ต่อปี หรือ 5 ครั้งต่อการท านา 2 ปี พื้นที่บริเวณนี้ควรสงวนไว้ใช้ในการเกษตรเพราะเป็นบริเวณที่รัฐได้
                       ลงทุนด้านการชลประทานและสาธารณูปโภคไว้สูง ปัจจุบันพื้นที่เหล่านี้ที่อยู่ใกล้ชุมชนจะถูกน าไปใช้
                       เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย และโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ านวนมากซึ่งเป็นการใช้ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมตรง

                       ตามศักยภาพของที่ดิน
                       1.2) ปลูกพืชไร่ในเขตชลประทาน มีเนื้อที่ 23,453,398 ไร่ หรือร้อยละ 7.31 ของเนื้อที่ประเทศ ได้แก่
                       บริเวณพื้นที่ดอนที่มีระบบชลประทานเข้าถึง พื้นที่นี้เหมาะสมที่จะน ามาใช้ในการผลิตพืชผัก หรือพืช
                       ไร่ที่ให้ผลผลิตสูงหรือต้องการคุณภาพที่ต้องการ เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์การผลิตที่ได้ผลผลิตสูงตาม
                       ความต้องการเนื่องจากสามารถควบคุมน้ าและปุ๋ยได้ การผลิตที่ต้องการคุณภาพมาตรฐาน เช่น การ

                       ผลิตเพื่อการส่งออกที่มีปริมาณสารตกค้างในผลิตภัณฑ์ต่ าตามที่ตลาดทั้งในและนอกประเทศควบคุม
                               น้ าเป็นปัจจัยที่ส าคัญยิ่งประการหนึ่งในการท าการเกษตร อาศัยน้ าจากธรรมชาติในการ
                       ประกอบการเกษตรเป็นส าคัญ ดังนั้น ปัญหาการขาดแคลนน้ าส าหรับการเจริญเติบโตของพืชมักจะ

                       เกิดขึ้นเสมอๆ โดยเฉพาะในฤดูแล้ง เพื่อเล็งเห็นความส าคัญของน้ าเพื่อการเกษตรจึงมีการจัดการ
                       ชลประทานเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ าในช่วงขาดน้ าและเพื่อให้ระบบการชลประทานประสบ
                       ความส าเร็จตามความประสงค์ จ าเป็นต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ เกี่ยวกับลักษณะ
                       ของที่ดินว่าเหมาะสมหรือไม่ในการให้การชลประทาน ปัจจัยที่ควรพิจารณา คือ

                                  1.3) ปัจจัยเกี่ยวกับคุณสมบัติของดิน
                                    คุณสมบัติต่างๆ ของดินทางฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ใช้เป็นบรรทัดฐานเริ่มแรกใน
                       การประเมินค่าของที่ดินเพื่อการชลประทาน คุณสมบัติเหล่านี้บางชนิดก็เปลี่ยนแปลงได้ยาก เช่น
                       เนื้อดิน แต่บางอย่างก็เปลี่ยนแปลงได้ง่าย โดยการเขตกรรม คุณลักษณะของดินมีความสัมพันธ์ต่อ

                       การพัฒนาที่ดิน
                                    ความส าคัญในด้านการปลูกพืชและด้านเศรษฐกิจของแต่ละคุณลักษณะของดินในแต่
                       ละพื้นที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่ ปริมาณน้ า และการใช้ที่ดิน
                       คุณลักษณะของที่ดินที่พึงประสงค์เพื่อความส าเร็จในการปลูกพืชโดยการให้การชลประทานควรมี

                       ลักษณะดังนี้ คือ
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96