Page 92 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        61







                                      - มีความจุความชื้นที่มีประโยชน์ต่อพืช
                                      - น้ าซึมผ่านได้เร็วเพื่อการถ่ายเทอากาศ
                                      - มีอัตราการแทรกซึมของน้ าช้าพอที่จะป้องกันมิให้เกิดการสูญหายสู่ส่วนล่างของ

                       ชั้นดินมากเกินไป หรือเกิดความแห้งแล้ง
                                      - มีความลึกพอที่รากพืชจะเจริญเติบโตได้ดี
                                      - ท าการปฏิบัติงานในไร่นาได้ง่าย
                                      - ไม่มีเกลือ (Saline) สะสมอยู่หรือถึงมีอยู่ก็ถูกชะล้างได้ง่าย

                                      - มีความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก และธาตุอาหารพืชเพียงพอและไม่มีสารที่
                       เป็นพิษ
                                     - ภายใต้การให้น้ าชลประทานที่เหมาะสมต้องมีความต้านทานต่อการกัดกร่อนที่มี
                       มากเกินไป

                                  1.4) ปัจจัยเกี่ยวกับลักษณะพื้นที่
                                          ความยากง่ายในการน าน้ ามาสู่ไร่นามีผลต่อค่าใช้จ่าย และการพัฒนาพื้นที่
                       นอกจากนี้ในบางกรณียังมีผลต่อความสามารถในการปรับตัวของพืช ความมั่นคงหรือความคงทนของ

                       สิ่งก่อสร้าง และการระบายน้ าปัจจัยของลักษณะพื้นที่ที่ใช้ในการพิจารณาระดับความเหมาะสมของ
                       ที่ดินเพื่อการชลประทานได้แก่
                                              1.4.1)  ความลาดชันของพื้นที่ การที่จะพิจารณาถึงความลาดชันของพื้น
                       ที่ว่าเหมาะสมหรือไม่ในการให้การชลประทาน จะต้องค านึงถึงสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
                                                    (1) ความยากง่ายของดินต่อการถูกกัดกร่อน

                                                    (2) ชนิดของพืชที่จะปลูก
                                                    (3) อัตราการแทรกซึมของน้ า และความจุความชื้นที่เป็นประโยชน์
                       ต่อพืชเพื่อความส าเร็จในการชลประทานโดยปราศจากการสูญเสียน้ ามากเกินไป โดยการไหลบ่าไปบน

                       พื้นผิวดิน หรือไหลสู่ส่วนล่างของดิน
                                                    (4)  พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงความลาดชันบ่อยๆ ท าให้ที่ดินเป็น
                       ผืนเล็กๆ มีผลให้การให้น้ าชลประทานเป็นไปในระยะสั้นมาก
                                                    (5)  วิธีการให้การชลประทาน ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละชนิดของ

                       พื้นที่
                                              1.4.2)  ลักษณะของพื้นผิวที่ดิน ที่ดินที่มีพื้นผิวไม่สม่ าเสมอท าให้เพิ่ม
                       ค่าใช้จ่ายในการผลิตและท าให้ผลผลิตของพืชต่ า การพัฒนาในพื้นที่เช่นนี้ต้องค านึงถึง
                                                    (1) ชนิดของการชลประทาน

                                                    (2) ค่าใช้จ่ายในการปรับระดับพื้นที่ดิน
                                                    (3) อิทธิผลของการปรับระดับพื้นที่ดินต่อผลผลิตของพืชเนื่องจาก
                       หน้าดินสูญหายไปปกติการประเมินคุณลักษณะของดินนั้นจะประเมินภายหลังท าการปรับระดับพื้นที่
                       แล้วมากกว่าก่อนท าการปรับระดับ โดยทั่วไปแล้วดินที่มีความลึกมากๆ เช่นดินตะกอนล าน้ าใหม่ๆ

                       สามารถที่จะท าการปรับระดับได้ลึก และค่าความสามารถในการผลิตของที่ดินที่ลดลงก็เป็น
                       เพียงชั่วคราว แต่ในดินเก่าหรือดินที่มีลักษณะชั้นหน้าตัดดินที่สมบูรณ์ ซึ่งมีชั้นของการสะสมของปูน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97