Page 99 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        68







                       รากมีจุลินทรีย์หลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อพืชและเมล็ดขยายพันธุ์ได้น้อยมากจึงไม่เป็นวัชพืช
                       นอกจากนี้หญ้าแฝกยังช่วยในการปรับปรุงดินรักษาและฟื้นฟูสภาพแวดล้อมการปลูกหญ้าแฝกใน
                       พื้นที่โครงการรักษ์น้ าเพื่อพระแม่ของแผ่นดินลุ่มน้ าขุนน่านซึ่งเป็นพื้นที่สูงมีรูปแบบการปลูกดังนี้ปลูก

                       หญ้าแฝกเป็นแถวเดี่ยวขวางความลาดชันของพื้นที่เป็นช่วงๆภายในแถวหญ้าแฝกต้องปลูกชิดติดกัน
                       เป็นก าแพงแถวของหญ้าแฝกนี้ช่วยชะลอความเร็วของน้ าไหลบ่าหน้าดินเก็บตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่
                       พื้นที่ตอนล่างและยังช่วยท าให้น้ าซึมซับลงในดินมากขึ้นความยาวของแถวหญ้าแฝกขึ้นอยู่กับสภาพ
                       ความยาวของพื้นที่

                                      การปลูกหญ้าแฝกตามไหล่ทางช่วยป้องกันดินขอบทางล าเลียงพังทลายการปลูกเป็น
                       แถวปลูกห่างจากขอบไหล่ทางประมาณ50-100เซนติเมตรและปลูกตามแนวระดับขวางความลาดเท
                       จ านวนแถวขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์และความยาวของความลาดเทใช้ระยะห่างแต่ละแถวตามแนวดิ่ง
                       50  เซนติเมตรวิธีการปลูกแบบรากเปลือยเป็นแถวแนวเดี่ยวระยะต้น5-10เซนติเมตรปลูกหญ้าแฝก

                       ช่วงวันที่30พฤษภาคมถึง30กรกฎาคมเป็นช่วงที่ปลูกหญ้าแฝกเหมาะสมที่สุด (วิชัยและคณะ, 2542)
                       อย่างไรก็ตามการปลูกหญ้าแฝกยังช่วยการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)
                       โดยก่อนปลูกความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง4.5-5.7เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น  4.5-5.8ปริมาณ

                       อินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้นจากระหว่างร้อยละ0.21-0.51เป็นร้อยละ0.76-1.01นอกจากนี้ปริมาณธาตุ
                       ฟอสฟอรัสโพแทสเซียมก่อนปลูกหญ้าแฝกอยู่ระหว่าง4.00-8.67, 100.00-166.67มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัมหลังปลูกเพิ่มขึ้นเป็น  6.67-12.67,  506.66-582.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ (กรม
                       พัฒนาที่ดิน, 2553)
                              1) สายพันธุ์หญ้าแฝก

                                      (1)  พันธุ์หญ้าแฝกลุ่ม (Vetiveriazizanioides)  เป็นสายพันธุ์ที่มีความสามารถใน
                       การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่างๆได้ดีและค่อนข้างเร็วบางพันธุ์น าเข้ามาจากต่างประเทศพันธุ์
                       หญ้าแฝกลุ่มได้แก่พันธุ์สุราษฎรธานีก าแพงเพชร2 ศรีลังกาและสงขลา3

                                      (2) พันธุ์หญ้าแฝกดอน (Vetiverianemoralis) เป็นสายพันธุ์ที่พบในที่ค่อนข้างแห้ง
                       หรือดินที่ระบายน้ าดีสามารถขึ้นได้ดีที่แดดจัดและที่ร่มร าไรใบปรกลงคล้ายกอตระไคร้ไม่ตั้งมาก
                       เหมือนหญ้าแฝกลุ่มสายพันธุ์หญ้าดอนได้แก่พันธุ์ราชบุรีประจวบคีรีขันธ์ร้อยเอ็ดก าแพงเพชร1
                       นครสวรรค์และเลย

                              2) การใช้ประโยชน์ของหญ้าแฝกในการพัฒนาที่ดินแบ่งได้3 ประเภท
                                      (1) การใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ลาดชันหรือบนพื้นที่
                       สูงมักมีปัญหาการชะล้างพังทลายดินซึ่งมีผลกระทบต่อทรัพยากรที่ดินและสภาพแวดล้อมท าให้ความ
                       อุดมสมบูรณ์ของดินและผลผลิตพืชลดลงแหล่งน้ าตื้นเขินหญ้าแฝกช่วยป้องกันปัญหาดังกล่าวได้ซึ่ง

                       แนวทางการน าระบบหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
                                             (1.1) การปลูกหญ้าแฝกอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่การเกษตรในพื้นที่ลาด
                       ชันปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวขวางความลาดเทของพื้นที่เป็นช่วงๆภายในแถวหญ้าแฝกจะปลูกชิดติดกัน
                       เป็นก าแพงเพื่อช่วยชะลอความเร็วของน้ าไหลบ่าหน้าดินเก็บกักตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่พื้นที่ตอนล่าง

                       และช่วยท าให้น้ าซึมซับลงในดินมากขึ้นความยาวของแถวหญ้าแฝกขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ในพื้นที่
                       การเกษตร
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104