Page 16 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            6


                     3.1.2 รูปแบบของการระบายน  า (drainage pattern)
                        รูปแบบของการระบายน้ า หมายถึง ลักษณะการระบายน้ าของระบบล าธารและล าน้ าที่ปรากฏอยู่ในบริเวณ

               ใดบริเวณหนึ่ง อาจมีรูปแบบเป็นเส้นตรง มุมโค้ง และอื่นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะทางธรณีวิทยาหรือภูมิประเทศบริเวณ
               นั้นๆ ที่ประกอบกันเป็นพื้นที่ลุ่มน้ า จากโครงสร้างของหิน ขบวนการทางธรณีวิทยา ชนิดของหินที่รองรับ สภาวะของ
               ภูมิอากาศ และสภาพภูมิประเทศ สามารถจ าแนกรูปแบบของการระบายน้ าที่ส าคัญ และมีอิทธิพลต่อระบบอุทก
               วิทยา ดังนี้ (ค ารณ, 2552)

                        1) รูปแบบทางระบายน้ าแบบกิ่งไม้ (dendritic drainage pattern) เป็นลักษณะโครงข่ายการระบายน้ าที่
               ล าน้ าย่อยไหลลงมารวมกันกับล าน้ าหลัก ดูคล้ายกับกิ่งไม้ หรือแบบเส้นประสาท มักเกิดขึ้นในบริเวณที่มีโครงสร้างหิน
               แบบเดียวกันมีเนื้อหินสมานแน่นเป็นโขดเนินเขาใหญ่น้อย จากการดันตัวขึ้นของหินละลาย เกิดเป็นหุบเขาต่อเนื่อง
               เป็นร่องลึกระหว่างเนินเขา ทางระบายน้ าแบบนี้สามารถชะลอปริมาณการไหลบ่าของน้ า มีการกระจายน้ าได้ดี

               ความสามารถในการกักเก็บน้ า (storage) และปลดปล่อยน้ า (discharge) ได้มาก
                        2) รูปแบบทางน้ าแบบมุมฉาก (trellis drianage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่ปรากฏบนลักษณะ
               ภูมิประเทศที่เป็นรอยเลื่อน (fault) หรือรอยแยก (joint) ล าน้ าไหลขนานกันมาตามแนวรอยเลื่อนและไหลมารวมกัน
               กับล าธารสายหลักเป็นมุมฉากหรือเกือบฉาก

                        3) รูปแบบทางน้ าแบบตั้งฉาก (rectangular drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่ล าธาร
               สายย่อยด้วยกันหรือล าธารสายย่อยกับสายหลักมาบรรจบกันเป็นมุมฉาก นอกจากนี้แนวโค้งของล าน้ าทุกสาย
               ในระบบจะเป็นมุมฉากเช่นเดียวกัน และจะมีระยะการหักงอของล าน้ าเกือบเท่ากัน เนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ

                        4) รูปแบบทางน้ าแบบรัศมี (radial drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่ล าน้ าสายหลักและ
               ล าน้ าสาขาจะไหลออกไปทุกทิศทางจากที่สูง ตอนกลาง เช่น รูปแบบการระบายน้ าที่เกิดขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศ
               แบบโดม กรวยภูเขาไฟ หรือเนินเขาที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว
                        5) รูปแบบทางน้ าแบบขนาน (parallel drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าของล าน้ าสายหลัก
               และล าน้ าสาขามีทิศทางการไหลขนานกัน หรือเกือบขนานกันไปในแนวทิศทางเดียวกันตลอด

                        6) รูปแบบทางน้ าแบบวงแหวน (annular drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าตามแนวระดับ
               ซึ่งมีทิศทางการไหลของล าน้ าตามรอยแยกของชั้นหินมีลักษณะเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวนหรือเกือบเป็นวงแหวน
               โดยจะไหลไปรวมกันกับล าน้ าสายหลักเพื่อระบายลงสู่ที่ต่ าต่อไป มักพบรูปแบบการระบายน้ าแบบนี้บริเวณเชิงเขา

               ของลักษณะภูมิประเทศแบบโดม
                     ชั นคุณภาพลุ่มน  า หมายถึง การแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน้ าตามลักษณะกายภาพและศักยภาพทางอุทกวิทยาและ
               ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพในลุ่มน้ านั้นๆ
               การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ าจ าแนกตามมติคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528-2538 พิจารณาจากปัจจัยด้านกายภาพที่

               ส าคัญซึ่งมีผลต่อกระบวนการทางอุทกวิทยาและสัมพันธ์กับสมรรถนะการกร่อนดิน จ านวน 7 ด้าน ได้แก่ ลักษณะภูมิ
               ประเทศ (landform) ความลาดชัน (slope) ความสูงจากระดับน้ าทะเล (elevation) ลักษณะหิน (geology)
               ลักษณะดิน (soil) พืชพรรณหรือป่าไม้ (forest) และศักยภาพของแหล่งแร่ (mineral) มาค านวณโดยสมการที่ใช้
               ในการก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า แล้วจ าแนกชั้นคุณภาพลุ่มน้ าออกเป็น 5 ชั้น (กองประสานการจัดการ

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2553) ประกอบด้วย
                        1) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ าชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ภายในลุ่มน้ าที่ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ าล าธารโดยเฉพาะ
               เนื่องจากว่าอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง โดยมีการแบ่ง
               ออกเป็น 2 ระดับชั้นย่อย คือ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21