Page 15 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            5


                        2) มาตรการวิธีพืช เป็นวิธีการที่เพิ่มความหนาแน่นของพืช การคลุมดิน การป้องกันเม็ดฝนกระทบผิวดิน
               ตลอดจนการปรับปรุงบ ารุงดิน มีการลงทุนต่ า ซึ่งเกษตรกรสามารถปฏิบัติได้เองโดยใช้พืชพวกตระกูลถั่วบ ารุงดิน

               หญ้าเลี้ยงสัตว์หรือหญ้าธรรมชาติปลูกเป็นแถบขวางความลาดเทของพื้นที่ การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ระบบปลูกพืช
               แบบผสมผสานเพื่อลดความรุนแรงของเม็ดฝน ชะลอความเร็วน้ าและดักตะกอนดิน เช่น การปลูกพืชคลุมดิน
               การปลูกพืชปุ๋ยสด การปลูกพืชสลับเป็นแถบ การปลูกพืชระหว่างแถบไม้พุ่มบ ารุงดิน คันซากพืช และไม้บังลม เป็นต้น


                  3.3 พื นที่ลุ่มน  า
                     3.3.1 ความหมายของลุ่มน  า (watershed)
                     นักวิชาการได้ให้ค าจ ากัดความไว้หลายประการ คือ บริเวณพื้นที่ที่รับและระบายน้ าโดยนับรวมตั้งแต่บริเวณ
               ต้นน้ า (upstream) จนถึงจุดออก (outlet) หรือปากล าน้ า (estuary) ดังนั้น การหาพื้นที่หรือขนาดของลุ่มน้ าใดๆ

               จะมีขนาดเท่ากันหรือแตกต่างกันนั้น ขึ้นอยู่กับการก าหนดจุดออกของลุ่มน้ าเป็นส าคัญ การประมาณค่าของพื้นที่
               ลุ่มน้ า ท าได้โดยการวัดพื้นที่ซึ่งล้อมรอบโดยสันปันน้ าในแผนที่ภูมิศาสตร์ พื้นที่ลุ่มน้ าตลอดจนลักษณะภูมิประเทศ
               สภาพของพืชที่ปกคลุม และลักษณะทางธรณีวิทยาจะมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อปริมาณน้ าท่วม
               ลักษณะของน้ าท่วม เป็นต้น (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2557)

                     ลุ่มน  า หมายถึง หน่วยของพื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ า เป็นพื้นที่รับน้ าฝนของแม่น้ าสายหลักในลุ่มน้ า
               นั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้ าจะไหลออกสู่ล าธารสายย่อยๆ และรวมกันออกสู่แม่น้ าสายหลัก จนไหลออก
               ปากน้ าในที่สุด (กรมป่าไม้, 2538)

                     ลุ่มน  า หมายถึง หน่วยพื้นที่ซึ่งทางกายภาพมีรูปร่างปิด มีขอบโดยรอบ ระบบทางน้ าธรรมชาติจะไหลจาก
               ขอบเข้าสู่ตอนกลาง ซึ่งมีล าน้ าหลักรองรับ มีทิศทางการไหลออกสู่พื้นที่รับน้ าที่มีขนาดใหญ่ เช่น ทะเล มหาสมุทร
               ทะเลสาบ หรือแม่น้ าสายหลัก เป็นต้น (ค ารณ, 2552)
                     ลุ่มน  า หมายถึง บริเวณพื้นที่ทั้งหมดที่โอบล้อมแม่น้ าที่น้ าฝนตกลงมาในบริเวณพื้นที่แล้วจะระบายลงสู่ล าห้วย
               ล าคลองต่างๆ จนในที่สุดไหลออกสู่จุดสุดท้ายที่ก าหนดเป็นปากแม่น้ าของลุ่มน้ านั้น (กรมทรัพยากรน้ า, 2552)

                     ลุ่มน  า หมายถึง หน่วยของพื้นที่หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ าโดยเฉพาะ มีขนาดตามความต้องการ
               ของบุคคลและประเภทของการศึกษา คณะกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติ ได้แบ่งพื้นที่ประเทศไทยออกเป็นลุ่มน้ า
               ส าคัญ 25 ลุ่มน้ าหลัก และแบ่งออกเป็น 254 ลุ่มน้ าสาขา (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ าเพื่อการเกษตร, 2553)

               การรักษาพื้นที่ลุ่มน้ าไม่ให้เสื่อมโทรมต้องมีการจัดการอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยเป้าหมายหลักในการจัดการ
               ลุ่มน้ า คือ การผสมผสานหลักการทางวิชาการและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการที่จะให้พื้นที่ลุ่มน้ ามีทรัพยากรไว้
               ใช้อย่างยั่งยืน มีปริมาณน้ าที่เพียงพอต่อการใช้ มีระยะเวลาการไหลที่เหมาะสมและสม่ าเสมอ มีคุณภาพน้ าที่ดี
               เหมาะสมต่อการอุปโภคและบริโภค การควบคุมการกร่อนดิน การลดความเสียหายจากอุทกภัย รวมทั้งการใช้

               ทรัพยากรในลุ่มน้ าอย่างถูกต้องตามหลักอนุรักษ์ (เกษม, 2551)
                     พื นที่ลุ่มน  า หมายถึง พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ า เป็นพื้นที่รับน้ าฝนของแม่น้ าสายหลักในลุ่มน้ านั้นๆ
               เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้ าจะไหลออกสู่ล าธารสายย่อยๆ แล้วรวมกันออกสู่ล าธารสายใหญ่ และรวมกันออกสู่
               แม่น้ าสายหลักจนไหลออกปากน้ าในที่สุด (ค ารณ, 2552)

                        ลุ่มน้ าที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นลักษณะเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า เพื่อก าหนดแผนแม่บทแผนการใช้ที่ดิน
               พื้นที่ลุ่มน้ า ที่ต้องด าเนินการเพื่อฟื้นฟู อนุรักษ์ ปรับปรุง เพื่อศึกษาพื้นที่ตัวแทนสภาพปัญหาทรัพยากรด้านต่างๆ
               ของพื้นที่ลุ่มน้ า และให้สอดคล้องกับแนวทางตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดินพุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกฎหมายที่
               ให้อ านาจกรมพัฒนาที่ดินเข้าไปด าเนินการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็น

               กลไกส าคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน การเสื่อมโทรมและการกร่อนดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20