Page 14 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            4


               ตารางที่ 2 ขั้นตอนการประกาศเขตส ารวจที่ดิน

                                ขั นตอนการด าเนินการประกาศเขตส ารวจที่ดิน (มาตราส่วน 1:25,000)
                    1. ก าหนดท้องที่ที่จะส ารวจพร้อมจัดท าประกาศ และแผนที่โดยสังเขป

                    2. แต่งตั้งคณะท างานในท้องที่ด าเนินการ
                    3. ประชุมคณะท างานเพื่อพิจารณาประกาศและแผนที่
                    4. ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัด
                    5. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน

                    6. เสนอกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงนามในประกาศ
                เขตส ารวจที่ดิน
                    7. ประกาศเขตส ารวจในราชกิจจานุเบกษา

                    8. ปิดประกาศในท้องที่ด าเนินการ

               ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2554)


                  3.2 การพัฒนาที่ดิน
                     การพัฒนาที่ดิน (land development) หมายถึง การกระท าใดๆ ต่อดินหรือที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ
               ดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้น และหมายความรวมถึงการปรับปรุงบ ารุงดินหรือที่ดินที่
               ขาดความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติหรือขาดความอุดมสมบูรณ์เพราะการใช้ประโยชน์ และการอนุรักษ์ดินและน้ า
               เพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อเพิ่มความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ที่ดินในการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

               (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554; คณะที่ปรึกษากรมพัฒนาที่ดิน, 2556)
                     เขตพัฒนาที่ดิน (zone of land development) หมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ าย่อยๆ ที่ได้รับการคัดเลือกให้
               พัฒนา โดยการบูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของกรมพัฒนาที่ดิน เช่น การส ารวจและวางแผนการใช้ที่ดิน

               การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน และฟื้นฟูดินที่มีปัญหาทางการเกษตร มุ่งหวังให้สามารถ
               ใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตลอดจนเป็นพื้นที่สาธิตการพัฒนาที่ดินอย่างเป็นระบบ
               (ส านักนิเทศและถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน, 2551)
                     การชะล้างพังทลายของดินหรือการกร่อนดิน (soil erosion) หมายความว่า ปรากฎการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้าง

               กัดเซาะพังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน้ า ลม หรือการกระท าอื่นใดเป็นเหตุให้เกิดการเสื่อมโทรม สูญเสียเนื้อดิน
               หรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554)
                     การอนุรักษ์ดินและน  า (soil and water conservation) หมายถึง การกระท าใดๆที่มุ่งให้เกิดระวัง
               ป้องกันรักษาดินและที่ดิน ไม่ให้เกิดการเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน

               และรักษาน้ าในดิน หรือบนผิวดินให้คงอยู่ เพื่อรักษาดุลยธรรมชาติให้เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ที่ดินใน
               ทางเกษตรกรรม  ส าหรับมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในปัจจุบันที่ใช้กันอยู่สามารถแบ่งออกตามลักษณะของ
               มาตรการได้เป็น 2 ประเภท (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554) ได้แก่
                        1) มาตรการทางวิธีกล เป็นวิธีการควบคุมน้ าไหลบ่าหน้าดิน โดยการสร้างสิ่งกีดขวางความลาดเท

               ของพื้นที่และทิศทางการไหลของน้ า ช่วยลดและชะลอความเร็วของกระแสน้ า เป็นวิธีการอนุรักษ์ที่ดินและน้ า
               ค่อนข้างถาวรและมีประสิทธิภาพสูง เช่น การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ คันดินเบนน้ า ขั้นบันไดดิน
               คูรับน้ าขอบเขา ทางระบายน้ า สิ่งก่อสร้างชะลอความเร็วของน้ าในทางระบายน้ า บ่อดักตะกอน บ่อน้ าในไร่นา

               และทางล าเลียงในไร่นา โดยโครงสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ าแบบมาตรฐาน ส าหรับแนะน าใช้ในพื้นที่
               ของเกษตรกรและเขตพัฒนาที่ดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19