Page 12 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            2


               2. วัตถุประสงค์
                  2.1 เพื่อศึกษากระบวนการ ขั้นตอน และแนวทางการส ารวจและจ าแนกดิน ในพื้นที่รองรับการประกาศเขต

               ส ารวจที่ดินตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
                  2.2 เพื่อจัดท าฐานข้อมูลข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรดิน ในพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน และสนับสนุน
               การตัดสินใจในการคัดเลือกพื้นที่รองรับการก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้ าตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
                  2.3 เพื่อจัดท าฐานข้อมูลข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรดิน ในพื้นที่รองรับการก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้ าตาม

               พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

               3. ตรวจเอกสาร
                  3.1 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน

                  พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดินได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้จากอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสิ้น
               จ านวน 2 ฉบับ ดังนี้
                     3.1.1 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 เป็นพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดินฉบับแรกที่ประกาศใช้ และได้
               ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2526 (รก.2526/160/11พ/6 ตุลาคม 2526) และมีผลบังคับ

               ใช้ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2526 มีทั้งสิ้น 17 มาตรา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2526)
                     เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 คือ เป็นการโอนอ านาจหน้าที่
               ในการพัฒนาที่ดินตามประมาลกฎหมายที่ดินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส ารวจจ าแนกและท าส ามะโนที่ดิน เพื่อให้

               ทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติและความเหมาะสมแก่การใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม วางแผนการใช้ที่ดิน
               การก าหนดบริเวณการใช้ที่ดิน และการก าหนดมาตรการเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า มาเป็นอ านาจหน้าที่
               ของคณะกรรมการพัฒนาที่ดินและกรมพัฒนาที่ดิน และโดยที่เป็นการสมควรก าหนดวิธีการในการน าผลงาน
               ทางวิชาการด้านการพัฒนาที่ดิน เช่น มาตรการเพื่อการปรับปรุงบ ารุงดินและที่ดิน และมาตรการเพื่อการอนุรักษ์
               ดินและน้ า ไปใช้ในการปฏิบัติการให้เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรรมของประเทศอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

               ยิ่งขึ้น จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
                     แต่เนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 ได้มีการใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานาน มีบทบัญญัติ
               บางประการไม่เหมาะสมกับภาวการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งยังไม่มีกฎหมายหรือบทบัญญัติใดที่ให้หน่วยงานของรัฐสามารถ

               เข้าไปด าเนินการป้องกันรักษาสภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินถล่มและเกิดการกร่อนดินอย่างรุนแรง จึงได้
               มีการประกาศพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดินฉบับใหม่ขึ้น คือ พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
                     3.1.2 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เป็นฉบับที่สอง ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 125
               ตอนที่ 27 ก. เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 มีทั้งสิ้น 25

               มาตรา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
                        เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 คือ ปัจจุบันได้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรม
               ของดินเนื่องจากไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า ท าให้เกิดการกร่อนดินก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคมและเศรษฐกิจ
               โดยรวม อีกทั้งยังไม่มีกฎหมายหรือบทบัญญัติใดที่ให้หน่วยงานของรัฐสามารถเข้าไปด าเนินการป้องกันรักษาสภาพ

               พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินถล่มและเกิดการกร่อนดินอย่างรุนแรง ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงค์
               เพื่อก าหนดมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส ารวจดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์
               ที่ดิน และการอนุรักษ์ดินและน้ า การวิเคราะห์ตรวจสอบตัวอย่างดินหรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ตลอดจนก าหนด
               มาตราการห้ามกระท าการใดๆ รวมถึงการท าให้ที่ดินเกิดการปนเปื้อนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17